1.23k likes | 2.48k Views
กฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน. นายดนัย เอกกมล. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. 1. กฎหมายหลักในความรับผิดชอบของกระทรวงพลังงาน. 2. พ.ร.บ. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ กลุ่มกฎหมายสำรวจผลิตปิโตรเลียม กลุ่มกฎหมายประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ
E N D
กฎหมายเกี่ยวกับพลังงานกฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน นายดนัย เอกกมล กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน 1
กฎหมายหลักในความรับผิดชอบของกระทรวงพลังงานกฎหมายหลักในความรับผิดชอบของกระทรวงพลังงาน 2
พ.ร.บ. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ กลุ่มกฎหมายสำรวจผลิตปิโตรเลียม กลุ่มกฎหมายประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ กลุ่มกฎหมายประกอบกิจการพลังงาน กลุ่มกฎหมายอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน กลุ่มกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กฎหมายหลักในความรับผิดชอบของกระทรวงพลังงาน กฎหมายหลัก จำนวน 21 ฉบับ 3
พ.ร.บ. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. 2535 • - เพื่อให้การบริหารและพัฒนาพลังงานเป็นเอกภาพและเป็นไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ • - มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีหน้าที่เสนอนโยบายแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ • กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกำหนดราคาพลังงาน • ติดตามเร่งรัดการกำหนดการดำเนินงานของ คณะกรรมการต่างๆ (ราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน) ที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน • ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านพลังงานของหน่วยงานต่างๆ • มีสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นหน่วยงานปฏิบัติ • องค์ประกอบคณะกรรมการตาม ม.5 โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน 4
พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 พ.ร.บ. ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล พ.ศ. 2430 พ.ร.บ. องค์การร่วมไทย - มาเลเซีย พ.ศ. 2533 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 331 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 95 พ.ศ. 2515 การคำนวณค่าชดเชยรายจ่ายเป็นทุน กลุ่มกฎมายสำรวจปิโตรเลียม 5
พ.ร.บ. ปิโตรเลียม 2514 • กำหนดให้ผู้สำรวจหรือผลิตปิโตรเลียมต้องได้รับสัมปทานจากรัฐ • กำหนดประโยชน์สิทธิหน้าที่ของผู้รับสัมปทาน • ข้อจำกัดสิทธิในแหล่งปิโตรเลียมออกนอกประเทศ • โทษ โทษ/ปรับ/จำคุก/เพิกถอนสัมปทาน • มีคณะกรรมการปิโตรเลียม รัฐมนตรีเป็นประธานมีหน้าที่ให้คำแนะนำ ปรึกษา ให้ความเห็นแก่รัฐมนตรี ในเรื่องสัมปทานการต่อระยะเวลาสำรวจปิโตรเลียม 6
พ.ร.บ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28 ลงวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2514 พ.ร.บ. ปันส่วนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2483 พ.ร.ก. แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2516 พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2543 พ.ร.ฎ. กำหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายว่าด้วยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2544 พ.ร.ฎ. กำหนดอำนาจ สิทธิ และประโยชน์ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2550) กลุ่มกฎมายประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ 7
พ.ร.บ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2514 • วัตถุประสงค์เพื่อป้องกันหรือระงับเหตุเดือดร้อนรำคาญ ก่อความเสียหายต่อสังคม • กำหนดมาตรการในการเก็บรักษา การขนส่งการใช้ ตำแหน่ง การบรรจุน้ำมันเชื้อเพลิงแผนที่ 3/ รูปแบบของสถานที่บริการ สถานที่เก็บ ฯลฯ • การคำนึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสภาพเศรษกิฐและสังคม • โทษ โทษ/ปรับ/จำคุก/เพิกถอนสัมปทาน • มีคณะกรรมการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง ปลัดกระทรวงพลังงานเป็นประธาน มีหน้าที่เสนอนโยบายและมาตรการต่อ ครม. การตรวจสอบควบคุมตามหมวด 5 ม.53 8
พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง -ได้กำหนดควบคุม ผู้ค้าน้ำมันเป็น 3ระดับ ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ น้ำมัน 100000ตัน/ปี ขึ้นไป LPG50000 ตัน/ปี ขึ้นไป ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย น้อยกว่าที่กำหนดในข้อ I. แต่มีปริมาณตามประกาศกระทรวง ต้องยื่นขอจดทะเบียนต่ออธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน ผู้ค้าน้ำมันโดยตั้งสถานีบริการน้ำมันทั่วไป ต้องขอจดทะเบียนต่ออธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน 9
พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง (ต่อ) • - ผู้ขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงตามขนาด / ปริมาณ ที่ประกาศต้องแจ้งต่ออธิบดี / ชำระต่อธรรมเนียมรายปี • ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ต้องจัดทำแผนปฏิบัติให้อธิบดีเห็นชอบ • ให้อธิบดีกำหนดลักษณะคุณภาพของน้ำมันและมาตราการในการตรวจสอบ • โทษ เพิกถอนใบอนุญาติ จำคุก / ปรับ 10
พ.ร.บ. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. ส่งเสริมการไฟฟ้า พ.ศ. 2484 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2515 พ.ร.บ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 กลุ่มกฎมายประกอบกิจการพลังงาน 11
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550 -ปรับโครงสร้างการบริหารพลังงานกิจการพลังงาน -งานนโยบาย -งานกำกับดูแล -การประกอบกิจการพลังงาน -เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมและมีบทบาทมากขึ้น -เพื่อให้การประกอบกิจการพลังงาน -มีความมั่นคง / มีคุณภาพ -เพียงพอและมั่นคงในราคาเป็นธรรม 12
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) • จัดตั้งคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน • -กำกับดูแลกิจการพลังงาน • -ป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดโดยมิชอบ • -คุ้มครองผู้ใช้พลังงาน และผู้ได้รับผลกระทบจากการประกอบ • กิจการพลังงาน • จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน • -เป็นหน่วยงานอิสระ • -เป็นเลขานุการของคณะกรรมการ 13
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) เค้าโครงของ พรบ. ประกาศด้วย 9 หมวด 155 มาตรา มาตรา 1 - มาตรา 6ตามรูปแบบของ พรบ. ทั่วไป - วันบังคับใช้ - กรณีบังคับใช้ ไม่บังคับใช้ - ขอบเขตการบังคับใช้ - คำจำกัดความ หมวด 1 บททั่วไป - วัตถุประสงค์ของ พรบ. มาตรา 7 - มาตรา 9 - นโยบายพื้นฟูว่าด้วยกิจการพลังงาน - หน้าที่ของรัฐมนตรี 14
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 2 องค์กรการกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 1 คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน มาตรา 10 - มาตรา 46-องค์ประกอบคณะกรรมการ - อำนาจหน้าที่ / คุณสมบัติ - วิธีการแต่งตั้ง / คัดเลือก - วาระการดำรงตำแหน่ง - ข้อห้ามหลังพ้นตำแหน่ง - องค์ประชุม - หลักการในการออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ - ค่าตอบแทน 15
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 2 องค์กรการกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน - ให้อำนาจในการจัดต้ง เป็นหน่วยรัฐ / รัฐวิสาหกิจ - สำนักงานอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการฯ - การบริหารบุคคล การงบประมาณ - การออกระเบียบข้อบังคับ - ผู้บริหาร (เลขาธิการ) ผู้รับผิดชอบ 16
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 3 การกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 1 การอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน - การขออนุญาต (หลักเกณฑ์ / เงื่อนไข / คุณสมบัติ) - การได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการฯ กรณียกเว้นการไม่ต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ - ความเชื่อมโยงการอนุญาตประกอบกิจการพลังงานกับกฎหมายอื่นให้ เป็นอำนาจอนุญาตของคณะกรรมการ (ม. 48) - ค่าธรรมเนียม - ฯลฯ 17
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 3 การกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 2 อัตราค่าบริการในการประกอบกิจการพลังงาน - กำหนดนโยบายแนวทาง อัตราค่าบริการในการประกอบ กิจการพลังงาน - รัฐมนตรีเป็นผู้กำหนดโดย กพช. เห็นชอบด้วย - วางกลักเกณฑ์ค่าบริการ ตามที่กำหนดใน ม. 65 18
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 3 การกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 3 การกำหนดมาตราฐานและความปลอดภัย ในการประกอบกิจการพลังงาน - เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการประกาศกำหน - ไม่สร้างภาระเกินความจำเป็น - ไม่กีดกันการแข่งขัน - ไม่เอื้อประโยชน์แก่ระบบใดระบบหนึ่ง - มีความโปร่งใส - ผู้ที่ประสงค์เป็นหน่วยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน - ต้องได้รับการอนุญาติจากคณะกรรมการ (ม. 76) - คุณสมบัติผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นไปตาม คณะกรรมการประกาศกำหนด 19
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 3 การกำกับดูแลประกอบกิจการพลังงาน - ส่วนที่ 4 ระบบโครงข่ายพลังงานและศูนย์ควบคุมระบบโครงข่ายพลังงาน - ผู้รับใบอนุญาตต้องดำเนินการตามแผนการของโครงข่ายพลังงาน - ต้องยินยอมให้ผู้รับใบอนุญาตระบบอื่นเชื่อมต่อระบบโครงข่าย ของตนตามข้อกำหนด รายละเอียดของข้อกำหนด - ไม่กระทบต่อความมั่นคง ปลอดภัย คุณภาพ - ไม่ทำให้ผู้ใช้พลังงานโดยรวมเสียประโยชน์ของพลังงาน 20
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 4 การคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน - ส่วนที่ 1 มาตรฐานการให้บริการและการให้บริการอย่างทั้วถึง - ส่วนที่ 2 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า - เพื่อเป็นทุนสนับสนุนให้มีการใช้บริการไฟฟ้า ไปยังท้อที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง - ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน 21
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 4 การคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน - ส่วนที่ 3 คณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต - เพื่อคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน - องค์ประกอบของคณะกรรมการ คุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง - ขอบเขตอำนาจหน้า - ดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียน - คุ้มครองผู้ใช้พลังงาน 22
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 5 การใช้อสังหาริมทรัพย์ การเวนคืน - ดำเนินการเวนคืนตามกฎหมาย - ให้สำนักงานเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืน รายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับการใช้อสังหาริมทรัพย์ 23
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 6 การคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน การพิจารณาข้อพิพาทและการอุทรณ์ - วิธีการระงับข้อพิพาทระหว่างผู้ใช้พลังงานกับผู้รับใบอนุญาต - การอุทรณ์ คำสั่งระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศของคณะกรรมการ 24
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่ การพิจารณาข้อพิพาทและการอุทรณ์ - วิธีการระงับข้อพิพาทระหว่างผู้ใช้พลังงานกับผู้รับใบอนุญาต - การอุทรณ์ คำสั่งระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศของคณะกรรมการ หมวด 8 การบังคับการปกครอง - คำสั่งให้ผู้รับใบอนุญาตกระทำการ / งดเว้นการกระทำ / แก้ไขปรับปรุง - กำหนดค่าปรับการปกครอง / เลิกใช้เพิกถอนใบอนุญาต 25
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พศ. 2550(ต่อ) หมวด 9 บทกำหนดโทษ ฝ่าฝืน จำคุก / ปรับ บทเฉพาะกาล 26
พ.ร.บ. การพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 กลุ่มกฎมายพัฒนา/ส่งเสริมกำกับอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน 27
พ.ร.ฎ. จัดตั้งสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2546 กลุ่มกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง -เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาขายปลกน้ำมัน -ลดผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมจากราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น -จัดตั้งคณะกรรมการสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน 28
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 2 เมษายน 2535 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2535 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 29
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 4 ธันวาคม 2550 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 30
ต้องการให้เกิดการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดต้องการให้เกิดการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด ต้องการให้เกิดการผลิตเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุใช้ในการอนุรักษ์พลังงานในประเทศ และมีการใช้อย่างแพร่หลาย ต้องการให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม โดยจัดตั้ง“กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 หลักการของกฎหมาย 31
สาระสำคัญในพระราชบัญญัติสาระสำคัญในพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ๏ การกำกับดูแล ๏ ๏ การส่งเสริมและสนับสนุน ๏ ๏ การลงโทษ ๏ 32
โครงสร้าง พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. 2535 กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ค่าธรรมเนียมพิเศษ บทกำหนดโทษ 33
โครงสร้างของกฎหมาย บททั่วไป หมวด 1 อนุรักษ์พลังงานในโรงงาน หมวด 2 อนุรักษ์พลังงานในอาคาร หมวด 3 การอนุรักษ์พลังงานในเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ส่งเสริมการใช้วัสดุ และอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน หมวด 4 กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน หมวด 5 ค่าธรรมเนียมพิเศษ หมวด 6 กำหนดโทษ 34
กลุ่มเป้าหมาย ๏ โรงงานควบคุม ๏ อาคารควบคุม ๏ ผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงและ วัสดุที่ใช้ในการอนุรักษ์พลังงาน 35
โครงสร้างกฎหมายใหม่ พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 พ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 31 ก.ค. 2552 มาตรฐาน การจัดการพลังงาน คุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร อยู่ระหว่างการพิจารณา ของกฤษฎีกา คุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 36
ตารางการเปรียบเทียบพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. ๒๕๓๕กับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐) 37
ตารางการเปรียบเทียบพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕กับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐) 38
พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม โรงงาน/อาคาร ที่มีขนาด เครื่องวัดไฟฟ้าตั้งแต่ 1,000 kW ขึ้นไป หม้อแปลงไฟฟ้าตั้งแต่ 1,175 kVA ขึ้นไป การใช้พลังงานรวมตั้งแต่20 ล้าน MJ/ปีขึ้นไป ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540 ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 39
หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21) มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงาน / อาคารควบคุม (คุณสมบัติ จำนวน หน้าที่ให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 2. จัดให้มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม (หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 40
กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. แจ้งผลรายงาน กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน ขั้นตอนการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย เจ้าของโรงงาน/อาคาร จัดทำการจัดการพลังงาน ตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานโดยผู้ตรวจสอบพลังงาน ส่งรายงานการจัดการพลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุกปี กฎกระทรวงมาตรฐานการ จัดการพลังงาน ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ของ พพ. 41
พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ฯ พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) 1 2 3 มีผลบังคับ 1 มิ.ย. 51 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้ตรวจสอบ พลังงาน บังคับ 20 พ.ย. 52 บังคับ 31 ก.ค. 52 รอกฤษฎีกาพิจารณา ประกาศกระทรวง - หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดการพลังงาน ในโรงงาน/อาคารควบคุม รมว.พน.ลงนาม 24 ก.ย. 52 42
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน ส่งรายงานฯ มี.ค. ทุกปี ระบบการจัดการพลังงาน การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน กำหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรบ ตรวจติดตาม ประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ดำเนินการตามแผนฯ 43
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงานกฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน คุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดของ ผชร. / ผชอ. • จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน • จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน • สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ • สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส • สอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน 44
การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงานการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงาน 45
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน ส่งรายงานฯ มี.ค. ทุกปี ระบบการจัดการพลังงาน การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน กำหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรบ ตรวจติดตาม ประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ดำเนินการตามแผนฯ 46
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงานร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน หน้าที่ผู้ตรวจสอบพลังงาน : • ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงาน / อาคารควบคุม คุณสมบัติผู้ตรวจสอบพลังงาน : 1. เป็นบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลไทย มีวัตถุประสงค์ประกอบธุรกิจหรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน หรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้และการผลิตพลังงาน 2. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 3. หน่วยงานของรัฐที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล 47
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่อ) คุณสมบัติ จำนวนบุคลากรของผู้ตรวจสอบพลังงาน • 1. ผู้ชำนาญการอย่างน้อย 1 คน • จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน • มีประสบการณ์ด้านการอนุรักษ์พลังงาน หรือด้านการจัดการพลังงาน อย่างน้อย 5 ปี ผลงานด้านอนุรักษ์พลังงานอย่างน้อย 5 โครงการ • ผ่านหลักสูตรวิธีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • 2. ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย 2 คน • จบ ป.ตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / พลังงาน • มีประสบการณ์ด้านการอนุรักษ์พลังงาน หรือด้านการจัดการพลังงาน อย่างน้อย 3 ปี • 3. ผู้ชำนาญการต้องเข้าอบรมหลักสูตรวิธีการตรวจสอบฯ ภายใน 2 ปี นับแต่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ หรือนับจากวันที่เป็นผู้ชำนาญการ 48
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่อ) เงื่อนไข : 1. ต้องไม่เป็นผู้ชำนาญการและผู้ช่วยให้กับผู้ตรวจสอบพลังงานรายอื่น 2. ต้องไม่เป็นบุคลากรประจำของโรงงาน / อาคารควบคุม ที่เข้าไปดำเนินการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 3. ผู้ชำนาญการและผู้ช่วย สามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงาน / อาคารควบคุม ไม่เกิน 30 แห่ง ในแต่ละรอบของการตรวจสอบ 4. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานแต่ละแห่ง ต้องประกอบ ด้วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย 1 คน ผู้ช่วยอย่างน้อย 2 คน 49
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน (ต่อ) • การบังคับใช้กฎกระทรวง • กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 120 วัน นับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา • ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • (ส่งร่างฉบับแก้ไขให้สำนักงานกฤษฎีกาเมื่อ มิ.ย.53) 50