1 / 28

ดูหนังเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ

ดูหนังเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ. ชม VCD รอบที่ ๑ สะท้อนความรู้สึกของตนเอง เพียง ๑ วลีหรือ ๑ ประโยค รอบที่ ๒ ขยายความ “ความรู้สึก” ของตนเองจากรอบที่ ๑ รอบที่ ๓ ได้เรียนรู้ หรือแง่คิดอะไร ที่จะสามารถนำไปใช้กับตนเองหรืองานได้. สุนทรียสนทนา. ไม่ต้องพูดเรียงลำดับ

shepry
Download Presentation

ดูหนังเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดูหนังเพื่อสร้างแรงบันดาลใจดูหนังเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ • ชม VCD • รอบที่ ๑ สะท้อนความรู้สึกของตนเอง เพียง ๑ วลีหรือ ๑ ประโยค • รอบที่ ๒ ขยายความ “ความรู้สึก” ของตนเองจากรอบที่ ๑ • รอบที่ ๓ ได้เรียนรู้ หรือแง่คิดอะไร ที่จะสามารถนำไปใช้กับตนเองหรืองานได้

  2. สุนทรียสนทนา • ไม่ต้องพูดเรียงลำดับ • พูดสดๆ จากใจ ไม่ใช้ความคิดที่เตรียมมา ไม่มีวาระซ่อนเร้น • ไม่คาดหวังกับสิ่งที่พูด ไม่ต้องพูดให้ดูดี • ฟัง...คิด...ไตร่ตรอง...ฟัง...คิด...ไตร่ตรอง..........พร้อมจึง “พูด” • เห็นต่าง คิดต่าง ห้อยแขวนไว้ก่อน ไม่มีโจทย์ ไม่มีจำเลย • One Meeting พูดกับกลุ่ม ไม่พูดกับใครคนใดคนหนึ่ง • ฟังด้วยหัวใจ • ฟังเสียงข้างในตัวเอง

  3. ตัวอย่างหัวปลา • ...การพัฒนาคุณภาพงานบริการ • ...การลดค่าใช้จ่ายในธนาคาร • ...การบริหารจัดการพัฒนาบุคลากร • ...การใช้ ITกับการขยายเครือข่าย • ...การพัฒนาผลิตภัณฑ์

  4. Success Story Sharing • ใช้เครื่องมือเรื่องเล่าเร้าพลัง (Storytelling) • ให้ช่วยกันหาประเด็นหรือหัวข้อการ ลปรร. • ต้องเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคน และเกี่ยวข้องกับงาน • ทุกคนยินดีและมีเรื่องเล่าที่จะแลกเปลี่ยนกัน • ประเด็นไม่กว้างเกินไป

  5. ผู้เล่าเรื่อง เล่าประสบการณ์ หรือเหตุการณ์ที่ประทับใจ ความสำเร็จหรือเทคนิควิธีการเกี่ยวกับหัวข้อหรือหัวปลาที่กลุ่มได้เลือกไว้ เริ่มเล่าด้วยความสำเร็จของเรื่องคืออะไร? มีอะไรเกิดขึ้น? เกิดขึ้นได้อย่างไร? เพราะเหตุใด? ทำไมจึงทำเช่นนั้น? อย่าพะวงว่าสิ่งที่เล่านั้น เป็นเรื่องผิดหรือถูก เพราะเป็นเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้ว เล่าให้เห็นความรู้สึก นึกคิดในขณะนั้น เล่าให้กระชับ ( คนละ ๒ - ๓นาที)

  6. “คุณอำนวย” • สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง สนุกสนาน • กระตุ้นให้ผู้เล่า เล่าเรื่องตามข้อเท็จจริง ไม่ตีความ • คุมให้อยู่ในประเด็นเป้าหมาย ไม่นอกเรื่อง • ไม่ชี้นำ หรือตัดสิน • ให้ทุกๆ คนได้ร่วมแลกเปลี่ยน

  7. ผู้ฟัง ฟังอย่างตั้งใจ ฝึกทักษะ Deep Listening ฝึกตั้งคำถามเชิงชื่นชม ไม่ถามแย้งระหว่างการเล่า จับประเด็น สาระสำคัญของเรื่องเล่าคืออะไร? ได้แง่คิดงามอะไรจากเรื่องเล่านั้นบ้าง? ระวังสิ่งที่จะทำให้บรรยากาศของการเล่าเรื่องสะดุด อาทิ เสียงมือถือ, ลุกเข้าออก ฯลฯ One Meeting

  8. ผู้บันทึก หรือ “คุณลิขิต” จับประเด็นของเรื่องเล่า บันทึกเรื่องเล่าตามความเป็นจริง ไม่ต่อเติมเสริมแต่งด้วยความคิดของตนเอง รักษาสำนวนเดิมของผู้เล่าไว้ให้มากที่สุด คำนึงอยู่เสมอว่า คนอื่นอ่านแล้วต้องเข้าใจ ขอขัดจังหวะการเล่าเรื่องได้ หากบันทึกไม่ทัน หรือให้ผู้เล่าเล่ารายละเอียดบริบท หรือ เทคนิคเพิ่มเติม บันทึกให้เห็นเส้นทางสู่ความสำเร็จ วิธีก้าวข้ามอุปสรรค ปัญหา ลำดับของแหล่งอ้างอิง

  9. การบันทึกเรื่องเล่า • เทคนิค วิธีการ How toที่ได้จากวง ลปรร. เป็นความรู้มือหนึ่งของคนเล่าเรื่องนั้นๆ • แต่ถ้าเราเอา เทคนิค วิธีการHow to นี้ไปใช้โดยไม่มีการดัดแปลง ความรู้นี้ถือเป็นความรู้มือสอง แต่ถ้ามีการดัดแปลง ประยุกต์เพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของเรา วิธีการที่ดัดแปลงหรือประยุกต์ใหม่นั้นคือ ความรู้มือหนึ่งของเรา

  10. การบันทึกเรื่องเล่า เป็นส่วนของผู้เล่าเรื่อง เป็นส่วนของผู้ฟัง (กลุ่ม) ผู้บันทึก: วรรณา เลิศวิจิตรจรัส สคส...................... บันทึกในการประชุม:………………………………. วันที่บันทึก: ………………………………………….

  11. คลังความรู้ที่ดีควรมีทั้งสามส่วนคลังความรู้ที่ดีควรมีทั้งสามส่วน ๑ ๒ ๓ แหล่งข้อมูลบุคคลอ้างอิง เรื่องเล่า หรือ คำพูดที่เร้าใจ การสรุปประเด็นหรือบทเรียนที่ได้ ประเด็น คำแนะนำ “ “ + + - Story - Case - Tips “ “ โทร. ... Tacit Knowledge Explicit Knowledge References

  12. KAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรีKAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี

  13. KAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรีKAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี

  14. KAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรีKAโรงเรียนชาวนาสุพรรณบุรี

  15. KM :ประเด็นหลัก Focus ที่เทคนิค วิธีการ How to (ความรู้ปฏิบัติ หรือ ความรู้มือหนึ่ง)

  16. กติกา สลับกันทำหน้าที่ “คุณอำนวย” “คุณลิขิต” “คุณอำนวย” ทำหน้าที่ชวนพูด ชวนคุย สร้างบรรยากาศ ควบคุมเวลาและกระบวนการ (ไม่ให้ออกนอกประเด็น) “คุณลิขิต” หรือผู้บันทึกจดบันทึกเรื่องเล่า และช่วยจับประเด็น บันทึกช่วยจำ และการตีความของกลุ่มย่อย สมาชิกกลุ่มทุกท่านผลัดกันเล่าเรื่องตามหัวปลาที่กลุ่มกำหนด ฟังและช่วยกันตีความ จับประเด็นสำคัญหรือประเด็นความรู้ที่ได้จากเรื่องเล่าแต่ละเรื่อง

  17. Community of Practices คือที่ๆ คนหลายๆ คนมารวมตัวกันเป็นชุมชน CoPsจะเกิดได้ต้องอาศัย ๓ องค์ประกอบหลัก • มีความสัมพันธ์ที่ดี • สนิทสนม คุ้นเคย • ไว้เนื้อเชื่อใจ • รู้สึกปลอดภัย COPs มีความสนใจใน เรื่องเดียวกัน • มีเรื่องที่จะแบ่งปัน • ประสบการณ์ • ประเด็นความสำเร็จ • เทคนิคการแก้ปัญหา • มีปัญหาร่วมกัน • แสวงหาบางอย่างร่วมกัน

  18. Peer Assist เพื่อนช่วยเพื่อน

  19. Peer Assist : เพื่อนช่วยเพื่อน

  20. Peer Assist : เพื่อนช่วยเพื่อน • สนใจความรู้ และบริบทเฉพาะ • ลปรร. ๒ฝ่าย ทีมเหย้า + ทีมเยือน • เล่าประสบการณ์ – สะท้อนกลับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน • กลับไปลงมือพัฒนางานตัวเอง

  21. Small Group Activities

  22. Small Group Activities • แบ่งกลุ่มคน ตามสายงานเดียวกัน • กำหนดเงื่อนไข การปกครอง การบริหารเป็นกลุ่มย่อย • ใช้กลุ่มเป็นกลไกในการพัฒนางาน มีนัยการแข่งขันระหว่างทีม • ให้อำนาจอิสระในการบริหารกลุ่มย่อย

  23. ตลาดนัดความรู้ (Knowledge Market) • รวบรวม Good Practices ของการทำงานเรื่องใด เรื่องหนึ่ง • มีทั้งการเล่าเรื่องบนเวที และในบูธย่อยภายในงาน • เน้นกระบวนการที่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ปฏิบัติทั้งให้ และรับ • หน่วยงานที่พบ กฟผ., DMKM, กรมส่งเสริมเกษตร,EdKM

  24. ตลาดนัดความรู้ (Knowledge Market)

  25. Knowledge Rally • จัดการเรียนรู้เป็นฐาน • แต่ละฐานใช้ Good Practices ที่เน้นความรู้ปฏิบัติมาแลกเปลี่ยน • ผู้เข้าร่วมเรียนรู้ถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อย และแยกกันไปทัวร์แต่ละฐาน เพื่อแลกเปลี่ยนในเรื่องนั้นๆ • ทุกกลุ่ม ได้เข้าครบทุกฐาน • หน่วยงานที่พบ DMKM, กรมอนามัย

  26. Knowledge Rally

  27. After Action Review (AAR) • ทบทวนความคาดหวังที่เข้าร่วม Workshopนี้ คืออะไร? • อะไรบ้างที่ได้เกินความคาดหวังที่ตั้งไว้ เพราะอะไร? • อะไรบ้างที่ได้น้อยกว่าความคาดหวังที่ตั้งไว้ เพราะอะไร? • จะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้กลับไปทำอะไรต่อ?

More Related