270 likes | 455 Views
ระบบคุณภาพ. - แนวคิด การร ประเมินรับรองคุณภาพที่หน่วยงานของท่านใช้คืออะไร - แนวคิดการประเมินรับรองของท่านแตกต่างจากแนวคิดการรับรองคุณภาพแบบอื่นอย่างไร การจัดการที่มุ่งเน้นให้มั่นใจว่าจะเกิดคุณภาพนี้เราเรียกว่า การประกันคุณภาพ -Audit -Accredit. Audit. Audit for award
E N D
ระบบคุณภาพ - แนวคิดการรประเมินรับรองคุณภาพที่หน่วยงานของท่านใช้คืออะไร - แนวคิดการประเมินรับรองของท่านแตกต่างจากแนวคิดการรับรองคุณภาพแบบอื่นอย่างไร การจัดการที่มุ่งเน้นให้มั่นใจว่าจะเกิดคุณภาพนี้เราเรียกว่า การประกันคุณภาพ -Audit -Accredit
Audit • Audit for award • Internal/external Audit • เกณฑ์.... Auditcheck list • ทีม..... Auditor • การออก Audit • Observation NC(non conformity)…CAR
Accredit • ใบรับรอง ออกให้โดยผู้รับรอง(certified body) • ต้องมีหน่วยงานควบคุมผู้รับรอง....NAC • การเยี่ยมสำรวจ....surveyor • องค์กร board ทีม ความต่อเนื่องและยั่งยืน • จะพัฒนาด้วยหรือไม่
Question ? • หน่วยงานของท่านได้รับการประเมินรับรองคุณภาพอะไรบ้าง • อะไรเป็นเหตุจูงใจให้หน่วยงานท่านขอรับการประเมิน • หากท่านได้รับการประเมินรับรองในหลายแบบ ท่านชอบแบบไหนที่สุด เพราะเหตุใด • ท่านเห็นว่าการประเมินรับรอง ทำให้คุณภาพบริการหรือประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้นหรือไม่อย่างไร • ท่านเห็นว่าการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอ หน่วยงานใดเป็นจุดชี้เป็นชี้ตาย
จุดชี้เป็นชี้ตาย: หน่วยงาน - ร.พ.(ฝ่ายเวช) - สสอ. : นายอำเภอ/ผอ.รพ./สสอ. (+-นพ.สสจ.) และควรมีกลไกส่งเสริมสนับสนุนติดตามกำกับอย่างไร - CES (ศูนย์ปฏิบัติการ) : แพทย์ FETP - ทีมนำเฉพาะด้าน ชุมชน
นวัตกรรมที่สำคัญ ศูนย์ระบาดวิทยาเบ็ดเสร็จ(Comprehensive Epidemiology Service Center: CES)
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES การเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง แนวคิดการเฝ้าระวังเบ็ดเสร็จ คน + สิ่งคุกคาม + สิ่งแวดล้อม Pre-clinical ป่วยเป็นโรค เสียชีวิต การเฝ้าระวังทางสุขภาพ การรายงานโรค รายงานการเสียชีวิต
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES ปัญหาสาธารณสุขที่เฝ้าระวัง
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES รูปแบบการเฝ้าระวัง • การเฝ้าระวังเชิงรุก • ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ • ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ • ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ • ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรคพยาบาล • ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป • ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ • SRRT network (KSH@yahoogroups.com), • Hotline (086-456-3206) • Facebook: Kamalasai-SRRT group
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES การบริหารจัดการ • คณะกรรมการอำนวยการระบบเฝ้าระวังฯ • วางนโยบาย ควบคุมกำกับ สนับสนุนทรัพยากร • คณะกรรมการดำเนินงานศูนย์ระบาดวิทยาเบ็ดเสร็จ • รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเผยแพร่ข่าวสารการเฝ้าระวัง • เป็นศูนย์กลางในการเฝ้าระวังและตรวจสอบข่าวการระบาด • พัฒนาระบบเฝ้าระวัง • คณะกรรมการดำเนินงานเครือข่ายฯ • เป็นเครือข่ายการรายงานและการดำเนินงานโต้ตอบการระบาด • ร่วมสนับสนุนวิชาการและพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังฯ
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES ทีมงานศูนย์ CES ประกอบด้วย แพทย์ด้านระบาดวิทยา (FETP) พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข
นวัตกรรมที่สำคัญ: CES กิจกรรมประจำสัปดาห์ของศูนย์ CES • ติดตามตรวจสอบงานตามระบบเฝ้าระวัง • รับแจ้งข่าวสารการระบาดจากเครือข่าย • วิเคราะห์และสังเคราะห์ข่าวสารการระบาด • ประสานการสอบสวนเหตุการณ์ระบาด • สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังประจำสัปดาห์ (Monday Meeting)
- ท่านทราบได้อย่างไรว่าหน่วยงานที่เข้ารับการประเมินรับรองคุณภาพของท่าน มีการพัฒนาคุณภาพ • Qualityคือ –มีประสิทธิภาพ - เป็นไปตามข้อกำหนดหรือมาตรฐาน - สร้างความพอใจ - ต้นทุนเหมาะสม PDCA /CQI
Audit(รูปแบบเดิม) Accredit(รูปแบบที่เสนอใหม่ ) เป็นการประเมินแข่งกับมาตรฐาน (ไม่มีอำเภอคู่แข่ง) น่าจะส่งเสริมให้เกิดความต่อเนื่องในการพัฒนาได้มาก เพราะทีมผู้ประเมินจะมีโอกาศศึกษาอำเภอที่ถูกประเมินและให้ข้อเสนอการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง ในกรณีที่มีการเยี่ยมหลายครั้ง • ประกวดให้เป็นรางวัล • เป็นการให้รางวัลเป็นปีๆไป อาจไม่เป็นการประกันคุณภาพและความต่อเนื่องได้ • มีการให้คะแนนและจัดระดับเปรียบเทียบกันได้ ทำให้เกิดความท้าทายและน่าภาคภูมิใจมาก • เป็นการประเมินแบบภาคตัดขวาง ผู้ประเมินมีเวลาในการเก็บข้อมูลน้อย แม้ผู้ประเมินจะศึกษาข้อมูลการปฏิบัติงานย้อนหลังของอำเภอที่ถูกประเมินมาแต่ก็ไม่เข้มข้นและไม่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนัก (มาเยี่ยมครั้งเดียวแล้วตัดสินเลย)
Audit(รูปแบบเดิม) Accredit(รูปแบบที่เสนอใหม่ ) ต้องบุกเบิกใหม่ มีความไม่แน่นอนสูง และอาจจะไม่ได้รับความสนใจเมื่อเทียบกับมาตรฐานอื่นๆซึ่งมีอยู่แล้วมากมาย เช่น HA หน่วยที่รับประเมินมาตรฐานอาจต้องเป็นทั้งอำเภอซึ่งไม่จำกัดอยู่ในกระทรวงสาธารณสุข จึงยากที่จะนำข้อเสนอของทีมผู้ประเมินไปสู่การปฏิบัติได้ เปลี่ยนผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ • มีเกณฑ์เดิมอยู่แล้ว • สามารถประเมินให้คะแนนครอบคลุมทั้งภาคีเครือข่ายซึ่งเป็นองค์ประกอบทั้งที่เป็นหน่วยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขและนอกกระทรวงสาธารณสุข
- สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับการจัดระบบการประเมินคุณภาพ • มาตรฐาน (check list ,เกณฑ์) • ผู้ที่จะรับรอง • ผู้ที่จะออกไปสำรวจ – เข้าใจบริบทพื้นที่ - มีความเป็นวิชาชีพ,มีความเชี่ยวชาญ, มีประสบการณ์,เป็นที่ยอมรับ
- ท่านมีข้อเสนอแนะอะไรสำหรับกรมควบคุมโรคเพื่อดำเนินการสร้างระบบการประเมินคุณภาพของงานป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอ - การจัดการ ..."เกณฑ์การวัด" ตามมาตรฐานสากลทั้ง 7 คือ • 1.การนำองค์กร(องค์กรและการบริหาร) • 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • 3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด • 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้(เอกสารคุณภาพ) • 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (การพัฒนาบุคลากร) • 6.การจัดกระบวนการ(input,เครื่องมือและอุปกรณ์,process) • 7.ผลลัพธ์ The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็นต้นแบบ ถือว่ามีคุณภาพ “ระดับโลก” (World Class)
รวมทั้ง –การควบคุมสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด - การตรวจติดตามคุณภาพภายใน - CQI - การตอบสนองความต้องการของลูกค้า • เนื้อหา • Primary prevention เป็นการป้องกันในระยะที่ยังไม่มีโรคเกิดขึ้น ประกอบด้วยงานที่สำคัญดังนี้ คือØ การส่งเสริมสุขภาพ ( Health promotion)เช่น งานสุขศึกษา, งานโภชนาการ, งานสุขวิทยาส่วนบุคคล, งานอนามัยสิ่งแวดล้อม, งานสุขาภิบาล, งานวางแผนครอบครัว, งานอนามัยแม่และเด็ก และงานสุขวิทยาจิตØ การคุ้มกันเฉพาะ ( Specific protection)
2. Secondary prevention( Early diagnosis and prompt treatment) ซึ่งประกอบด้วยØ การค้นหาผู้ป่วยในระยะที่ยังไม่มีอาการ ( Early detection of asymptomatic cases) การค้นหาผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการ ส่วนใหญ่ตรวจพบได้โดยการตรวจคัดกรองโรค ( Screening of diseases) เช่น การตรวจวัดความดันโลหิตในการตรวจสุขภาพประจำปีของพนักงานØ การวินิจฉัยผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็วเมื่อพบว่ามีอาการ ( Early diagnosis of symptomatic cases ) 3. Tertiary prevention เป็นการช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรค ลดความพิการของโรค ประกอบด้วยØ การกำจัดความพิการ ( Disability limitation)Ø การฟื้นฟูสุขภาพ ( Rehabilitation )
จำแนกตามกลุ่มโรค • โรคติดต่อ แบ่งตามลักษณะการติดต่อและกลวิธีการควบคุม เป็น 4 กลุ่ม คือ 1. โรคติดต่อนำโดยแมลง2. โรคติดต่อจากการสัมผัส3. โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน4. โรคติดต่อทั่วไป หรือโรคติดต่ออื่นๆ โรคไม่ติดต่อ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม • กลุ่มพฤติกรรมสังคม มีสาเหตุจากการดำเนินชีวิตหรือวิถีชีวิต (life style) • กลุ่มสิ่งแวดล้อม มีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษขึ้น • กลุ่มพันธุกรรม เช่น โรคทาลัสซีเมีย โรคเบาหวาน • กลุ่มอื่นๆ ที่ไม่สามารถจัดเข้าใน 3 กลุ่ม รวมทั้งโรคที่มีสาเหตุมากกว่า 1 กลุ่ม เช่น การติดสารเสพติด ซึ่งเป็นจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
อุปสรรคจากการตรวจประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนอุปสรรคจากการตรวจประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • ถึงแม้ประธานคือนายอำเภอจะเป็นแกนหลักในการประสาน ดำเนินงาน ยังพบอุปสรรคในการดำเนินงานบ้าง เช่น หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหารอปท.หลายแห่งยังไม่ให้ความสำคัญอย่างเต็มที่จะเห็นได้จากการส่งเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติมาประชุมแทนเกือบทุกครั้ง • อีกทั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงนายอำเภอก็มีผลกระทบต่อความเข้มแข็งของคณะกรรมการด้วย • การระดมทุนคณะกรรมการไม่มีงบประมาณเป็นของตนเองในการบริหารจัดการ ต้องขอรับการสนับสนุนจากท้องถิ่นซึ่งบางห้วงเวลาไม่สอดคล้องกับการดำเนินการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณของท้องถิ่นหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายด้านการควบคุมโรคติดต่อยังเป็นอำนาจของ ผู้ว่าราชการจังหวัด ลงมาไม่ถึงระดับอำเภอโดยตรง • หากการประเมินเป็นการรับรองคุณภาพ ซึ่งรูปแบบของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งบริหารจัดการไม่เป็นองค์กร เป็นแค่เพียงการขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการที่มาจากหลายภาคส่วน ไม่มีระเบียบ กฎหมายรองรับทั้งด้านการควบคุมกำกับและการใช้งบประมาณ อีกทั้งเมื่อมีหลายภาคส่วนมาร่วมกันดำเนินงาน แต่ละภาคส่วนต่างมีภารกิจหลัก ระเบียบการปฏิบัติ ผู้บังคับบัญชาและวัฒนธรรมองค์กรของตน อาจจะมีมุมมองในมิติที่ต่างจากมิติด้านสุขภาพอย่างเดียว อาจทำให้เป็นการยากในการพัฒนาเพื่อให้ได้การรับรอง • คณะกรรมการตรวจรับรองคุณภาพจึงควรมาจากหลายภาคส่วนและมีระดับที่เป็นที่ยอมรับ