2.31k likes | 2.51k Views
การประชุมปฏิบัติการแนวคิดการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ ผ่านกลไกการดำเนินงานอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับตำบล. วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา. กิจกรรมที่ ๑ : แนะนำตัว/ความคาดหวัง/ชี้แจงกำหนดการ. แนะนำตัว ชื่อ สกุล การทำงาน แจกหัวใจ
E N D
การประชุมปฏิบัติการแนวคิดการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ ผ่านกลไกการดำเนินงานอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับตำบล วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา
กิจกรรมที่ ๑ : แนะนำตัว/ความคาดหวัง/ชี้แจงกำหนดการ • แนะนำตัว ชื่อ สกุล การทำงาน • แจกหัวใจ • เขียนความคาดหวังหรือ สิ่งที่ต้องการรู้มากขึ้น ในการอบรม ๓ วันนี้ • นำเสนอข้อมูลในกลุ่มใหญ่
ความต้องการ/คาดหวัง • อยากแก้ปัญหาเด็กท้อง • แนวทาง ที่จะช่วยเด็ก ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความต้องการ/คาดหวัง/รู้เพิ่ม • สิ่งใหม่ๆ เช่น เรื่องเพศ • รู้จักภาคีตำบลอื่น • หลักการทำงานในตำบลให้ทำได้จริง • แนวนโยบายการทำงาน • งบประมาณในการทำงาน • ปัญหายาเสพติด • แก้ปัญหารถโบราณ • เทคนิค/ทักษะ การบอกให้เยาวชน เชื่อฟัง
วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างความร่วมมือ ความเข้าใจ และแรงบันดาลใจ • สร้างความเข้าใจเรื่องเพศวิถี • สร้างความเข้าใจการพัฒนาเยาวชน • วางแผนในการแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างมีส่วนร่วมให้มีคุณภาพและยั่งยืน
การรับรู้ของคน 10% การอ่าน 20% การฟัง การอ่าน การฟัง รับรู้จากการฟัง เห็น พูด 30% สิ่งที่เราเห็น ดูภาพ-ภาพยนตร์ รับรู้จากการ มองเห็น 50% เห็น + ฟัง ชมสาธิต - ไปดูงาน 70%สิ่งที่เราพูด ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น จากการมี ส่วนร่วม 90% สิ่งที่เรา ได้ลงมือทำ ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จำลอง ลงมือทำจริง + สรุป (นำไปเล่าต่อ) ..
Apply ประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์(Experiential Learning) + 4 A Model Do/Experience ทำกิจกรรม/ มีประสบการณ์ร่วม Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่
กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน กรอบแนวคิดในการเอบรม บริบททางสังคมวัฒนธรรม เพศวิถีSexuality แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
ท้อง แท้งHIV STI EQ สารเสพติด รุนแรง
GAP ของการดำเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบัน • การมีส่วนร่วม ของภาคียังไม่เป็นจริง • “การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องของสาธารณสุขเท่านั้น” • มีตัวชี้วัด/นโยบายสั่งการลงไปพื้นที่มาก • บางตัวชี้วัดไม่ตอบสนองต่อปัญหาจริงในพื้นที่ • ขาดการจัดการข้อมูลที่เป็นระบบและมีคุณภาพเพื่อสะท้อนรากของปัญหา ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและการส่งสะท้อนข้อมูลต่อภาคี
GAP ของการดำเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบัน • กระบวนการวางแผนแก้ไขปัญหา ยังไม่ตอบการแก้ปัญหา • ที่รากและไม่รอบด้านเพียงพอที่จะก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยังแก้ที่ปลายเหตุ เช่น ให้ความรู้ รณรงค์ เน้นรักษามากกว่าป้องกัน • จนท.ส่วนใหญ่ไม่เข้าใจแนวคิดการทำงานเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การแก้ปัญหายังทำเป็นรายกิจกรรม ขาดความต่อเนื่อง ไม่มองเชิงระบบ • “ ไม่มีความสำเร็จใด ที่คิดเหมือนเดิม ทำเหมือนเดิม • แล้วจะดีกว่าเดิม” • ที่มา...จากการถอดบทเรียนภาคีเครือข่ายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ในการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการเชิงระบบเพื่อพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคแบบยั่งยืน 14 ม.ค.-มี.ค.2554 11
นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 12
ข้อตกลงร่วมกัน • มีส่วนร่วมแลกเปลี่ยน • ตรงเวลา • รักษาความลับ • ปิดเสียงโทรศัพท์
กิจกรรมที่ ๒ : สถานี “รู้เขารู้เรา”
๓. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม: ๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ • เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... • เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... ๕. การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ ๖. ความท้าทายในการดำเนินงานเรื่องเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ คือ
แบ่งกลุ่ม ๖ สถานีเพื่อ... ๑. วิเคราะห์และสรุปประเด็นสำคัญและตั้งข้อสังเกตุ ที่พบในแต่ละสถานี(๕ นาที) ๒. ส่งตัวแทนนำเสนอกลุ่มละไม่เกิน ๒ นาที
วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือวิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ • มีเพศสัมพันธ์ • เข้าถึงสื่อ • มั่วสุม ล่าแต้ม • มีแฟน • ทำแท้ง • ติดโรค • มีsex ทำให้แฟนรัก เด็กเล่าให้ครูฟัง ผู้หญิง ถ้าเขามีเพศสัมพันธ์เยอะ กล้าเล่า ดูดี เพื่อนชื่นชม แสดงความเป็นฮีโร่ มีเพศสัมพันธ์กันง่าย สาเหตุ ครอบครัวอยากสร้างคุณค่า สังคมให้โอกาสเด็กแค่ไหน วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ความอบอุ่นของครอบครัวสื่อ
๒.เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... • ครู ควรสอนตั้งแต่อนุบาล • แต่ถูกครูอื่นๆไม่เห็นด้วย • การเปลี่ยนแปลง • คุมกำเนิด • การยอมรับ • การช่วยตัวเอง • การร่วมเพศ • อกฟู รูฟิต • มีแฟนหลายคน
๓.เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด • เพื่อน แฟน • เน็ท • พ่อแม่ ญาติ • รพ สต โจทย์ ผู้ใหญ่ ครู ทำให้เด็กอยู่ได้อย่างปลอดภัย ครูบางคนด่าๆ ยังไม่ถึงเวลา หยุดความคิดเด็ก ฟังเด็ก ให้ทางเลือก ยกตัวอย่าง เรายอมรับฟังเขาจะคุยและเอาความคิดดี ไปใส่ได้
๔.สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... • เชย • ไม่กล้า • รักไม่ใช้ • สื่อไม่ใช้ • หาซื้อยาก • ฉุกเฉิน • ไม่มัน • ไม่มีเงิน • ถูกเล่าต่อ ข้อจำกัด เด็กเข้าไม่ถึง ใช้ตู้หยอดเหรีญ คนใช้ไม่หยอด
๕.การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ๕.การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ • ให้ความรู้ • แจกถุง • โครงการให้ความรู้ใน รร. • ติดตั้งตู้ • ค่ายอบรม YC • โครงการอบรม • ดูงานวัดพระบาทน้ำพุ • เสนอผู้บริหาร
๖.ความท้าทายในการดำเนินงานเรื่องเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ คือ • ทำตามนโยบาย ผลลัพธ์น้อย • ทำเดิมๆ • ทำ ๒๐ ปี เหมือนเดิม • ชุมชนไม่ยอมรับ • แรงจูงใจแรงสนับสนุนน้อย • ความเข้าใจพฤติกรรมวัยรุ่น
สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ เพศในเยาวชนคือ.... • ความคิด ต่อเรื่อง เพศศึกษา ของเราคนทำงาน • เปิดใจ เรา คนทำงาน เข้าใจ ความเป็นวัยรุ่น ไม่ตัดสิน • ทัศนคติความเชื่อเดิมๆ เช่น เรื่องเพศต้องปรับเปลี่ยน • ต้องเปิดการเรียนรู้เพิ่มจากภาคี • อยากให้ผู้ปกครอง พ่อแม่ เข้าใจการดูแลลูก • การเข้าถึง ถุงยางอนามัย ของเยาวชน
โจทย์สำคัญ .. ที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน • สร้างประเด็นเยาวชน • เป็นนโยบายสาธารณะ • (talk of the town) • ผู้บริหาร • สื่อมวลชน • ฯลฯ 5 2 • พัฒนาทักษะส่วนบุคคล • ปรับหลักสูตร • ปรับกิจกรรมในโรงเรียน • ที่เปิดกว้าง-เหมาะสมกับ • การเรียนรู้ของเยาวชน เยาวชน เรียนรู้ - ตระหนักคุณค่าตัวเอง 4 • สร้างสิ่งแวดล้อม • ที่เอื้อต่อสุขภาพ • สื่อ สิ่งพิมพ์ (TV VCD) • internet • การบริโภคสุรา • สถานบันเทิง ฯลฯ • สร้างชุมชนเข้มแข็ง • และสนับสนุนการมีส่วนร่วม • (เปิดพื้นที่ทางสังคม – สนับสนุน) • เครือข่ายผู้ปกครอง • บทบาทท้องถิ่น 3 1 ที่สำคัญ ..ปรับทัศนะคนทำงาน + ปรับระบบงาน
ความเป็นจริงเรื่องเพศในสังคมไทย*ความเป็นจริงเรื่องเพศในสังคมไทย*
ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๑* • เพศสัมพันธ์ครั้งแรกของเยาวชน อายุน้อยลง (เฉลี่ย ๑๔.๕-๑๖.๗ ปี) • เพศสัมพันธ์ครั้งแรกเกิดขึ้นก่อนแต่งงาน (ชาย ๘๔% หญิง ๗๖%) • ๕๒% ของวัยรุ่นเคยมีคู่นอนมากกว่า ๑คน • เยาวชนเพียง ๒๓% ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก • คนหนุ่มสาวแต่งงานในอายุที่มากขึ้น * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๒* • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เกิดขึ้นในกลุ่มเยาวชนมากที่สุด (๑๕-๒๔ ปี มีอัตราการติดเชื้อสูงสุด) • ๑๑.๑% ของผู้ป่วยเอดส์ ๓๑.๗% ของผู้ป่วยกามโรค และ ๓๐% ของผู้หญิงที่ทำแท้งอยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ปี • ปี ๒๕๔๗ คาดว่ามีเด็กที่ได้รับเชื้อเอชไอวี ๒๒,๘๕๒ คน • ๗๐% เรียนประถมศึกษา • ๕-๖% เรียนมัธยมศึกษา * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๓* • วัยรุ่นเริ่มเรียนรู้เพศศึกษาจากโรงเรียน ที่อายุ ๑๕.๖ ปี • วัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาจาก พ่อแม่ เพียง ๑% (ค่าเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ที่ ๑๒ %) • วัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศจากอินเทอร์เน็ตมากเป็นอันดับ๑ * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย– ๔* • วัยรุ่นทั้งชายและหญิงมองว่าการมีคู่หลายคนหรือมี “กิ๊ก” เป็นเรื่องทันสมัย • ร้อยละ ๗๔ ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาเพื่อน และร้อยละ ๑๐.๗ หาแฟน • วัยรุ่นอายุต่ำกว่า ๑๙ ปีทำคลอดเพิ่มขึ้นจาก ๕๒,๐๐๐ ราย ในปี ๒๕๔๖-๒๕๔๗ เป็นกว่า ๗๐,๐๐๐ ราย ในปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ หรือ เฉลี่ยวันละเกือบ ๒๐๐ คน ในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า ๑๔ ปี จำนวน ๒,๐๐๐ คน เฉลี่ยวันละ ๕ คน *รวบรวมจากงานวิจัยต้นปี ๒๕๕๐
ร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยและการคลอดบุตรของมารดาอายุ < 20 ปีเขตบริการที่ 9 ปีงบประมาณ 2553-2555 ที่มา : Node MCH and Teenage pregnancy
มีการติดเชื้อเอดส์รายใหม่ วันละ 45 ราย แนวโน้มพบในกลุ่มอายุน้อยลง
ประเทศไทยใช้งบประมาณในการรักษาผู้ป่วยเอดส์ ปีละไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้าน
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากรแสนคน จำแนกตามชนิดโรค ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากรแสนคน จำแนกตามกลุ่มอายุ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552
กรอบการดำเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556 เข้าสู่ระบบการรักษาช้า การเสียชีวิตผู้ไม่รับยาสูงกว่ารับยา ขาดยา ดื้อยา พัฒนาระบบบริการดูแลรักษา HIV/AIDS พัฒนาระบบบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น VCTยังต่ำ Condom ต่ำ พัฒนาระบบบริการให้การปรึกษา สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพองค์กรเอกชนด้านเอดส์ กลไกการ พัฒนาระบบ ป้องกัน ??? พัฒนาระบบเพศศึกษา กลไกการเชื่อมประสานในพื้นที่ ยังไม่เข้มแข็งพอ พัฒนาระบบ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลสุขภาพ
กรอบการดำเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556 เข้าสู่ระบบการรักษาช้า การเสียชีวิตผู้ไม่รับยาสูงกว่ารับยา ขาดยา ดื้อยา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น VCTยังต่ำ Condom ต่ำ สังคม สิ่งแวดล้อม ครอบครัว ปัจเจก
ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๕* • ร้อยละ ๘๔.๓ ของพ่อแม่ระบุว่าลูกสนิทกับตนเองมากที่สุด แต่ความเป็นจริงมีเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่กล้าพูดคุยเรื่อง “เพศ” กับพ่อแม่ • ร้อยละ ๗๘.๘ ของพ่อแม่มั่นใจว่าตนเองเป็นผู้ที่เหมาะสมในการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่ลูก ขณะที่ ร้อยละ ๒๐.๓ ครูเหมาะสมกว่า และควรเริ่มสอนตั้งแต่ ป. ๕-๖ • เด็กอายุเฉลี่ย ๔.๑ ปี และต่ำสุด ๑.๒ ปี เริ่มอยากรู้อยากเห็นเรื่องเพศศึกษา และถามตรงๆ กับพ่อแม่ *รวบรวมจากงานวิจัยต้นปี ๒๕๕๐
วัยรุ่นเรียนเรื่องเพศจากไหน?วัยรุ่นเรียนเรื่องเพศจากไหน? • ถ้าเป็นเรื่องอวัยวะเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรียนจากตำราเรียนและครูสอน • ถ้าเป็นเรื่องความผิดปกติทางเพศ รู้จากหนังสือพิมพ์ ทีวีและเห็นจากเพื่อนๆ • สำหรับท่าทางร่วมเพศ ดูจากวีซีดีโป๊ที่เวียนดูกันกับกลุ่มเพื่อน • ส่วนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความต้องการทางเพศ รู้จากเพื่อนนักเรียนด้วยกัน • ข้อมูลที่น่าสนใจคือ เกือบห้าพันคนนี้เรียนรู้เรื่องเพศจากพ่อแม่น้อยมาก โดยเฉพาะ แต่ละหัวข้อ • เด็กรู้จากพ่อแม่ไม่ถึงสิบคน บางคนบอกว่า เพศศึกษาเป็นเรื่องที่พ่อแม่ไม่สั่งสอน
สังคม การทำพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง การลองทำพฤติกรรมใหม่ เกิดแรงจูงใจที่จะทำ ปรับความคิด/มีทักษะ เกิดความรู้/ความตระหนัก ไม่ตระหนัก บุคคล กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ความรู้ และข้อมูลเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เปลี่ยนพฤติกรรม • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความพยายามต่อเนื่อง • การให้ข้อมูลที่ทำให้เกิดความกลัวมีข้อจำกัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน พฤติกรรม • พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม • พฤติกรรมบุคคลเป็นผลจากค่านิยมและการให้คุณค่าในสังคม • บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึ้น ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทำได้ • การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบัติของชุมชนและสภาพแวดล้อมด้วย
กิจกรรมที่ ๔ : เส้นชีวิต
เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง...
เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง... • พุ่มไม้ • โรคติดต่อ • การตั้งครรภ์ • การสำส่อน • อุปกรณ์ช่วย • โซ่ แซ่ กุญแจมือ • น้ำแข็ง • เหล้า เบียร์ • นุ่งน้อย ห่มน้อย • เกี่ยวข้อง • การป้องกัน • สังคม สวล • พัฒนาการ • พฤติกรรม • ผู้ชาย ผู้หญิง • มีเพศสัมพันธ์ • อวัยวะเพศ • นม • หนังโป๊ • ถุงยาง • หมอนข้าง • กระเทย • โรงแรม
Sexuality เพศวิถี หมายถึง ค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งไม่ใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหมายทางสังคม เพศวิถีจึงสัมพันธ์กับมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่กำหนดและสร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มุม เช่น “ความปกติ” ของการเป็นคนรักต่างเพศ “ความผิดปกติ” ของคนรักเพศเดียวกัน หรือ “ผู้หญิงดี” คือผู้ที่อ่อนประสบการณ์ หรือเป็นฝ่ายรับในเรื่องเพศ (passive) เพศสัมพันธ์ในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์กับคนเพียงคนเดียว หรือหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/ไม่ปลอดภัย รักต่างวัย รักนอกสมรส ทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างของเพศวิถี ซึ่งมีความหลากหลาย เพศวิถีเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละวัฒนธรรม ชนชั้น และกาลเวลา เช่น เพศวิถีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์มองว่าการที่ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น ห่มสไบผืนเล็กปกปิดร่างกายส่วนบน ไม่ถือว่าโป๊ หรือเป็นผู้หญิงใจแตก ใจง่ายแต่อย่างใด เพศวิถี จึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และมีความเชื่อมโยงกับ “ภาวะความเป็นหญิงหรือชายของผู้คนตามที่สังคมคาดหวัง” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า เพศภาวะ • (ที่มา: เอกสารโครงการ แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ, เมษายน ๒๕๔๙)
อ่านบทความ ”เพศวิถี” มีประเด็นสำคัญอย่างไร • แต่ละคนมี ลักษณะเรื่องเพศที่ต่างกัน • รสนิยมทางเพศที่แตกต่างกัน • คนสร้าง กำหนด สัญลักษณ์ เรื่องเพศ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย • วัฒนธรรมตามยุคสมัย เรื่องเพศ
เส้นชีวิต • กลุ่ม ๑ วัยเด็ก ๐-๙ ปี • กลุ่ม ๒ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี • กลุ่ม ๓ วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี • กลุ่ม ๔วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี • กลุ่ม ๕ วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี • กลุ่ม ๖ วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป เรื่องเพศที่เกิดขึ้น หรือเกี่ยวข้องกับคนในแต่ละช่วงวัยมีอะไรบ้าง
ตั้งคำถาม ผู้หญิงกระโปรง ชายกางเกง เสื้อสีหวาน สัมผัสอวัยวะเพศ • เปลี่ยนคู่นอน ตั้งครรภ์ เป็นโรค ปัญหาครอบครัง แลกเงิน มีกิ๊ก มีเพศสัมพันธ์ • มีเพศสัมพันธ์ ความคิด เห็นเรื่องเพศไม่ตรงกัน มีความต้องการสูง รักสนุก อยากเป็นฮีโร่ ล่าแต้ม กล้าแสดงออก อยากเห็น อยากลอง ตั้งครรภ์ การแต่งกายดึงดูด ฮอร์โมน วัยเด็ก ๐-๙ ปี วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้น ไป วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี • เข้าวัด กำลังถอย หญิงไม่ต้องการ ชายต้องการ เสื่อม ไม่มีปฏิสัมพันธ์ อญุ่กันแบบเพื่อน • เปลี่ยนคู่ มีกิ๊ก ไม่สมดุลย์ ชอบเที่ยว ความต้องการลด เข้าวัยทอง ชายมองเด็ก จ้างยิงคู่ สรีระเหี่ยวยานลง • เบื่อคู่ ครอบครัวแตกแยก หาคู่ หญิงวัยทอง มีเวลาน้อย หย่าร้าง มีกิ๊ก ชายชอบทำตัวให้เด็ก
ข้อสังเกต • เหมือนเป็นกราฟ • เรื่องเพศ เกียวข้อง พัฒนาการ สอดคล้องกับพฤติกรรม เรื่องเพศ • มีปัญหาทุกวัย แตกต่างกัน การดูแล น่าจะแตกต่าง • กลุ่มวัยรุ่น จะหนัก กว่ากลุ่มอื่นๆ