1 / 49

วิชา พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารทางการท่องเที่ยว

วิชา พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารทางการท่องเที่ยว. (Information Communication Technology for Tourism). ดร.ไพศาล กาญ จนวงศ์. สื่อการสอน. Power Point การสอน เว็บไซต์ชื่อ td260.wordpress.com เอกสารประกอบการสอน. คำอธิบายรายวิชา.

shelley
Download Presentation

วิชา พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารทางการท่องเที่ยว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา พท260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว (Information Communication Technology for Tourism) ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  2. สื่อการสอน • Power Point การสอน • เว็บไซต์ชื่อ td260.wordpress.com • เอกสารประกอบการสอน ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  3. คำอธิบายรายวิชา เป็นวิชาที่ศึกษาความหมายของ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเบื้องต้นได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุครวมถึงประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของซอฟแวร์เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารระบบเกี่ยวกับการจัดการฐานข้อมูล โดยเน้นให้นักศึกษาสามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ทางการท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  4. แผนการประเมินผลการเรียนรู้แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  5. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน A= 86 ขึ้นไป B+ = 81 – 85 B = 76 – 80 C+ = 71 – 75 C = 66 – 70 D+ = 61 – 65 D = 55 – 60 F = ต่ำกว่า 55 ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  6. การเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  7. การเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก • การท่องเที่ยวมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว • การจัดทำข้อตกลงระหว่างประเทศและพันธกรณีต่างๆ • การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก • ความเสี่ยงของโรคระบาดมีเพิ่มขึ้น • ความไม่แน่นอนของสภาวะเศรษฐกิจโลก • การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวสูงขึ้น • ความขัดแย้งและการก่อการร้าย • กระแสการให้ความสนใจต่อสุขภาพ การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้ข่าวสารทั่วโลกเข้าถึงประชาชนได้อย่างทั่วถึง • การแข่งขันกันเป็นผู้นำด้านการกีฬา และการพัฒนาทางเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ • การใช้กีฬาในการสร้างความเชื่อมั่นและภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ • การเติบโตของธุรกิจกีฬาอย่างต่อเนื่อง ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  8. สถานการณ์ท่องเที่ยวโลกสถานการณ์ท่องเที่ยวโลก ที่มา: http://www.tica.or.th/images/plan_tourism2555-2559/2555-2559.pdf ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  9. สถานการณ์ท่องเที่ยวโลกสถานการณ์ท่องเที่ยวโลก @ การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว องค์การการท่องเที่ยวโลก World Tourism Organization : UNWTO ได้พยากรณ์ว่า ปี 2563 จะมีนักท่องเที่ยวจำนวนถึง 1,600 ล้านคน แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมคือ เอเชียโดยจะมีนักท่องเที่ยว 1 ใน 3 มาเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  10. @ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการตลาด UNWTPO คาดว่าในปี 2556 จีนจะเป็นตลาดส่งออกและนำเข้านักท่องเที่ยวใหญ่ที่สุดในโลก ประมาณปีละ 100-120 ล้านคน @ การแข่งขันด้านท่องเที่ยวสูงขึ้น ตลาดใหม่ในเอเชีย+จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง มีการลงทุนด้านการท่องเที่ยว การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เพื่อแย่งชิงกันในเวทีโลก ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  11. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลก ประเทศอุตสาหกรรมเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น กลุ่มนี้มีความพร้อมด้านเวลาและเงิน สนใจในเรื่องของสุขภาพ อยู่นาน ต้องการแหล่งท่องเที่ยวที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี ที่มา : http://113.53.230.163/planning/images/pdf/Ministry_of_Tourism_and_Sport_Strategy_55-59.pdf ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  12. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ICT เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความแตกต่างและสร้างคุณค่าของสินค้าในรูปของ e-Commerce และ e-Business นักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ใช้ข้อมูลอินเตอร์เน็ตมากขึ้น ประมาณว่า 1.5 ล้านคนใช้อินเตอร์เน็ต และ 600 ล้านคนเป็นสามาชิกออนไลน์ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  13. พฤติกรรมนักท่องเที่ยวพฤติกรรมนักท่องเที่ยว พฤติกรรมผู้บริโภคปรับเปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจ “Last minute” คือการใช้เวลาสั้นก่อนการเดินทางเพื่อตัดสินใจในการจอง/ซื้อสินค้าและบริการท่องเที่ยวเพื่อแสวงหาความคุ้มค่า นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะใกล้ ภายในประเทศและในภูมิภาคเดียวกันเพื่อลดอุปสรรคและข้อจำกัดในการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสนใจการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ เช่น เชิงผจญภัย เชิงสุขภาพ MICE กีฬา สิ่งแวดล้อม เพราะแต่ละคนจะมีความต้องการแตกต่างกัน ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  14. กระแสของความสนใจและใส่ใจในสุขภาพและออกกำลังกาย ทำให้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) และ การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism) ได้รับความสนใจมากขึ้น กระแสความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม มีแนวโน้มสูงขึ้น ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  15. การวิเคราะห์จุดอ่อนของประเทศไทยการวิเคราะห์จุดอ่อนของประเทศไทย ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  16. จุดอ่อนของประเทศไทย มีปัญหาเรื่องระบบโลจิสติกส์ โครงข่ายเส้นทางคมนาคม และระบบเชื่อมโยงการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างเมืองท่องเที่ยวหลักและเมืองรอง ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยวเกินขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  17. จุดอ่อนของประเทศไทย โครงสร้างการบริหารจัดการของรัฐยังอ่อนแอ ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภาพลักษณ์ด้านลบเรื่องความปลอดภัย หลอกลวง สินค้าไม่มีคุณภาพ โสเภณี การค้ามนุษย์และโรคเอดส์ การลงทุนด้านบุคลากรไม่ทันต่อการขยายตัวของการท่องเที่ยว ทำให้บุคลากรไม่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะมัคคุเทศก์ที่มีความรู้และเข้าใจภาษาต่างประเทศและวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  18. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนขาดความรู้ด้านการจัดการภูมิทัศน์และการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของหน่วยงานทุกระดับ การทำธุรกรรมผ่าน e-Commerce ยังไม่แพร่หลายมากเท่ากับยุโรป อเมริกา เกาหลี สิงคโปร์ แหล่งท่องเที่ยวกระจุกตัวอยู่ในเฉพาะบางพื้นที่ ขาดการพัฒนาและการสร้างแหล่งใหม่ และไม่มีการเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง อุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อมทำให้มีข้อจำกัดเรื่องการรวมกลุ่ม บุคลากรและงบประมาณ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  19. “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจายรายได้โดยคำนึงถึงความเป็นธรรม สมดุล และยั่งยืน” วิสัยทัศน์การท่องเที่ยวประเทศไทย ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  20. ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวประเทศไทยยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวประเทศไทย 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว 2. การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวในเกิดความยั้งยืน 3. การพัฒนาสินค้าบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว 5. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ภาครัฐ ประชาชน อปท. ในการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว 4. การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  21. 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ ป้ายสื่อความหมาย มาตรฐานความปลอดภัย การคมนาคมทางอากาศ การเดินเรือเพื่อการท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  22. 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก เครือข่ายสื่อสาร ระบบสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ ดิจิตอลคอนเทนต์เพื่อการท่องเที่ยว e-Commerceเว็บไซต์ การจัดการโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การผ่านจุดผ่านแดน ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  23. 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ศูนย์กลางการบินของภูมิภาค เชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม ศูนย์กลางการเดินทางภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  24. 2. ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  25. 2. ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว ทำฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  26. 2. ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  27. 3. พัฒนาสินค้าและบริการ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  28. 3. พัฒนาสินค้าและบริการ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  29. 3. พัฒนาสินค้าและบริการ ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวให้ครบถ้วนและทันสมัย ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  30. 3. พัฒนาสินค้าและบริการ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  31. 3. พัฒนาสินค้าและบริการ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  32. 4. สร้างความเชื่อมั่น เผยแพร่และสื่อสารภาพลักษณ์การท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  33. 4. สร้างความเชื่อมั่น ระบบสารสนเทศด้านการท่องเที่ยวเพื่อการสืบค้น เพิ่มช่องทางการจำหน่าย ส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยว และพัฒนาระบบตลาดออนไลน์ และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  34. 4. สร้างความเชื่อมั่น ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  35. 4. สร้างความเชื่อมั่น โฆษณาและประชาสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ทุกรูปแบบ เว็บไซต์ข้อมูลการท่องเที่ยวและการให้บริการ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  36. 4. สร้างความเชื่อมั่น ส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  37. 5. การมีส่วนร่วม ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  38. 5. การมีส่วนร่วม ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  39. การใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  40. การติดต่อสื่อสาร การท่องเที่ยว การอ่านหนังสือ โทรทัศน์ เทคโนโลยี ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  41. ตัวอย่างการติดต่อสื่อสารตัวอย่างการติดต่อสื่อสาร ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  42. ตัวอย่างการอ่านหนังสือตัวอย่างการอ่านหนังสือ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  43. ตัวอย่างโทรทัศน์ ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  44. ตัวอย่างการท่องเที่ยวตัวอย่างการท่องเที่ยว ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  45. ดร. ไพศาล กาญจนวงศ์

  46. Google eyes http://www.tgdaily.com/mobility-features/62541-video-google-eyes-the-future-with-project-glass

More Related