70 likes | 216 Views
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารฮาลาล) อุตสาหกรรม ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้.
E N D
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารฮาลาล) อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดยะลา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 227 แห่ง (สปช. 213 แห่ง และ สศ. 14 แห่ง) สังกัด เอกชน 45 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. 3 แห่ง สังกัด สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น 11 แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1.วท.ยะลา 2. วอศ.ยะลา 3. วช.ยะลา 4.วก.เบตง 5. วก.รามัน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกและทิศใต้ เขตติดต่อรัฐเปรัค • ทิศตะวันตกเขตติดต่อรัฐเคดาห์ • เนื้อที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ • เป็นที่ตั้งของด่านปาดังเบซาร์ อ.สะเดา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 58,915 บาท ต่อปี (อันดับ 12 • ของภาค อันดับ 38 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • สวนยางพาราสวนผลไม้ 38.6 % รองลงมาสาขา • การขายส่งและการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 13.10 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ไก่เบตง กบภูเขา กล้วยหิน ส้มโชกุน • ลองกอง กริช และอาหารจีน • ประชากร • จำนวนประชากร 464,121 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวนสูงที่สุด จำนวน 43,850 คน หรือ 15.76 % • จำนวนผู้ว่างงาน 2,851 คน เป็นชาย 1,999 คน เป็นหญิง 852คน อัตราการว่างงาน 0.6% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน158,424 คนหรือ 63.58% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานร้านค้า และตลาด 27,750 คน หรือ 11.14 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1)ดอกไม้ประดิษฐ์ 2) ทำขนมไทย 3) ตัดเย็บเสื้อผ้าทั่วไป • 4) การขับรถยนต์ 5) ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ 6) ทำอาหาร • 7) เดินสายไฟภายในอาคาร 8) ซ่อมรถยานยนต์ 9) ตัดเย็บผ้าคลุมสตรี • 10) ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก (ที่มา อศจ.ยะลา) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 89,585 คนหรือ 35.95% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 65,405 คน หรือ 26.25% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 27,573 คน หรือ 11.07% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 173,341 คน หรือ 69.57% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,190 คน หรือ 2.08% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 77 แห่ง มีการจ้างงาน 3,276 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 46 แห่ง มีการจ้างงาน 1,700 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดปัตตานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 340 แห่ง (สปช. 322 แห่ง และ สศ. 18 แห่ง) สังกัด เอกชน 165 แห่ง สังกัด กศน. 13 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1.วท.ปัตตานี 2. วท.กภ.ปัตตานี 3. วอศ.ปัตตานี 4.วก.ปัตตานี 5. วก.สายบุรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดกับอ่าวไทย • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมฮาลาล • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 62,860 บาท ต่อปี (อันดับ 11 • ของภาค อันดับ 35 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากเกษตรกรรมและ • การทำประมง 46.08 % รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 14.42 % • อาชีพหลักของจังหวัด • การเพาะปลูก ประมงทะเล เพาะเลี้ยงชายฝั่ง • และการเลี้ยงสัตว์ • อาชีพเกษตรกรรมส่วนใหญ่ปลูก ข้าว ยางพารา • มะพร้าว สวนผลไม้ • ประชากร • จำนวนประชากร 634,376 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 มีจำนวนสูงที่สุดจำนวน 59,064 คนหรือ 15.78% • จำนวนผู้ว่างงาน 5,208 คน เป็นชาย 3,311 คน เป็นหญิง1,897 คน อัตราการว่างงาน 0.9% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน118,990 คนหรือ 39.97% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 53,093 คน หรือ 15.2% และปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 43,103 คน หรือ 14.48% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นอาหารฮาลาล • 2) อาหารไทยฮาลาลยอดนิยมเพื่อการประกอบอาชีพต่างประเทศ 3) ช่างตัดผมและซอยผม • 4) ซ่อมเครื่องยนต์เล็ก 5) การทำอาหารพื้นเมืองมุสลิมภาคใต้ 6) ซ่อมรถจักรยานยนต์ • 7) ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 8) การเลี้ยงปลาในกระชัง • 9) ช่างประกอบอลูมิเนียม 10) ช่างซ่อมเครื่องปรับอากาศในรถยนต์ • (ที่มา อศจ.ปัตตานี) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 104,398 คน หรือ 35.07% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 102,252 คน หรือ 34.35 % และช่วยธุรกิจครัวเรือน • 46,568คน หรือ 15.68 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 44,210 คน หรือ 14.8% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 200,843 คน หรือ 67.5 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,717 คน หรือ 1.45% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 52 แห่ง มีการจ้างงาน 4,666 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดนราธิวาส สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 362 แห่ง (สปช. 342 แห่ง และ สศ. 20 แห่ง) สังกัด เอกชน 81 แห่ง สังกัด กศน. 13 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 2 แห่ง 1.วช.นราธิวาส 2. วก.สุไหงโก-ลก • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและประเทศมาเลเซีย • ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน 2 ด่าน คือ เบตง • และสุไหงโก-ลก • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 38,762 บาท ต่อปี (อันดับ 14 • ของภาค อันดับ 51 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 49.98% รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 14.29% • อาชีพหลักของจังหวัด • การทำสวนยาง สวนผลไม้ ทำนา สวนมะพร้าว • ประมง และการเลี้ยงสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 700,525 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวนสูงที่สุด 66,136 คน หรือ 15.43% • จำนวนผู้ว่างงาน 14,156 คน เป็นชาย 9,135 คน เป็นหญิง 5,021 คน อัตราการว่างงาน 1.76 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน149,923 คนหรือ 38.89% ลำดับรองลงมาคือ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 72,988 คน หรือ 18.93% และ พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 62,922 คน หรือ 16.32% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ปักผ้าคลุมผมสตรี 2) ปักลายผ้าละหมาด 3) ช่างเชื่อมโลหะทั่วไป • 4) การผลิตผ้าบาติกและผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก 5) ช่างบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็กเพื่อการประมง • 6) ผลิตภัณฑ์จากทะเล (ข้าวเกรียบ) 7) ดอกไม้ประดิษฐ์จากยางพารา • 8) การจัดทำของชำร่วย จากใบยางและอื่น ๆ 9) การถนอมอาหาร • 10) การผลิตภัณฑ์ไม้ยางพาราและความปลอดภัยในโรงงานการผลิต (ที่มา อศจ.นราธิวาส) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 190,765 คน หรือ 49.48% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 95,046 คน หรือ 24.65% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 59,666 คน หรือ 18.41% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 252,616 คน หรือ 65.52% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,635 คน หรือ 1.2% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 38 แห่ง มีการจ้างงาน 1,015 คนลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้มีสถานประกอบการ 38 แห่ง มีการจ้างงาน 774 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบนกลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนล่างกลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนล่าง