240 likes | 513 Views
หน่วยที่ 4. ทฤษฎีการผลิตและการประยุกต์. ลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตร 1. ผู้ผลิตสินค้าเกษตรในระดับไร่นาบางชนิดสามารถเข้าออกจากธุรกิจโดยเสรี 2. ผลผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพแตกต่างกัน 3. การผลิตสินค้าเกษตรต้องประสบปัญหาความเสี่ยงและความไม่แน่นอน
E N D
หน่วยที่ 4 ทฤษฎีการผลิตและการประยุกต์
ลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตรลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตร • 1. ผู้ผลิตสินค้าเกษตรในระดับไร่นาบางชนิดสามารถเข้าออกจากธุรกิจโดยเสรี • 2. ผลผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพแตกต่างกัน • 3. การผลิตสินค้าเกษตรต้องประสบปัญหาความเสี่ยงและความไม่แน่นอน • 4. รายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่เป็นรายได้เพียงครั้งเดียว • 5. ธุรกิจการทำเกษตรกับครอบครัวมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
ความแตกต่างของผลผลิตเกษตรกับผลผลิตอื่นๆความแตกต่างของผลผลิตเกษตรกับผลผลิตอื่นๆ 1. ผลผลิตเกษตรมีช่วงเวลาในการผลิตตามสภาพธรรมชาติ 2. การผลิตสินค้าเกษตรจะผลิตได้ตามฤดูกาล 3. สินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพมาตรฐานไม่แน่นอน 4. สินค้าเกษตรมีน้ำหนักมากและกินเนื้อที่ 5. สินค้าเกษตรส่วนใหญ่ยากแก่การเก็บรักษา
การตัดสินใจทางด้านการผลิตของเกษตรกรการตัดสินใจทางด้านการผลิตของเกษตรกร ๏ input-output decision ๏ input-input decision ๏ product-product decision
ฟังก์ชันการผลิต Product function เป็นการแสดงความสัมพันธ์ทางกายภาพ ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต โดยมี Y = ตัวแปรตาม = ตัวแปรอิสระ
ข้อสมมติเกี่ยวกับฟังก์ชันการผลิตข้อสมมติเกี่ยวกับฟังก์ชันการผลิต 1.ปัจจัยการผลิตและผลผลิตแต่ละหน่วยต้องมีลักษณะ เหมือนกัน 2. ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตต้องกำหนดแน่นอน 3. เทคนิคการผลิตต้องคงที่ 4. กระบวนการผลิตอยู่ภายใต้ภาวะความแน่นอน
ต้นทุนการผลิต • ต้นทุนการผลิตคือ ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต • การแบ่งต้นทุนการผลิตตามระยะเวลา • ต้นทุนคงที่ (fixed cost) • ต้นทุนผันแปร (variable cost) เขียนเป็นสมการต้นทุนได้ดังนี้
Y Y Y COBB-DOUGLAS QUADRATIC LINEAR TPP TPP TPP X X X Y Y Y APP=MPP APP APP MPP MPP X X X ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตกับฟังก์ชันการผลิต
$ $ $ TC TC TC VC VC VC FC FC FC Y Y Y MC $ MC $ $ ATC ATC ATC ATC AVC AVC MC=AVC AFC AFC AFC Y Y ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตกับฟังก์ชันการผลิต Y
Y2 Y2 TPPX1 Y1 Y1 X1 0 0 (ค) Y1 Y2 (ก) Y PX1.X1 ต้นทุน TVC 0 ต้นทุน Y 0 (ข) Y2 (ง) Y1 ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนกับผลผลิต ผลผลิต(Y) (Y)
**ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต****ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต** ข้าวโพด(ถัง) 126 130 132 130 120 150 120 90 60 30 TPP Y X ระยะที่ 2 W X1/X2,X3,…Xn 75 150 225 300 375 450 525 600 675 ข้าวโพด(ถัง) ระยะที่ 1 ระยะที่ 3 0.60 0.40 0.20 APP X1/X2,X3,…Xn 75 150 225 300 375 450 525 600 675 MPP ความสัมพันธ์ในเชิงเทคนิคของการผลิต
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับปัจจัยการผลิตความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับปัจจัยการผลิต • 1. ปัจจัยแปรผันสองชนิดรวมกันในอัตราคงที่ เช่นการผลิตปลากระป๋องโดยใช้ • ส่วนผสมของซอสกับเนื้อปลาตามสูตรที่กำหนดไว้ • 2. ปัจจัยแปรผันสองชนิดรวมตัวกัน โดยมีอัตราการทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ • เช่น การใช้ปลายข้าวแทนข้าวโพดในการผลิต • 3. ปัจจัยการผลิตสองชนิดรวมกันโดยมีอัตราการทดแทนเปลี่ยนแปลงเช่น การใช้ • ผักขมร่วมกับผักบุ้งในการเลี้ยงสุกร
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิตความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต 1.ความสัมพันธ์แบบผลผลิตร่วม เช่น การสีข้าวจะได้ทั้งข้าวสาร ปลายข้าว รำ และแกลบ 2. ความสัมพันธ์แบบแข่งขันกัน เช่น ที่ดิน 10 ไร่ เมื่อปลูกข้าวโพดมาก ก็จะปลูกข้าวฟ่างได้ลดลง 3. ความสัมพันธ์แบบที่เกื้อหนุนกัน เช่นปลูกฝ้าย และถั่วเหลืองในแปลงเดียวกัน 4. ความสัมพันธ์แบบที่เสริมกัน เช่นการเลี้ยงไก่ในบ่อปลา
ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจของการผลิตความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจของการผลิต ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันชนิดเดียว 1. ระดับการใช้ปัจจัยแปรผันอย่างเดียวให้ผลตอบแทนสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1.1 การหาปริมาณปัจจัยแปรผันที่ใช้แล้วจะทำให้ได้รับกำไรสูงสุด หรือ ต้นทุนเพิ่มของปัจจัย (MFC) เท่ากับราคาปัจจัยแปรผัน (Px) 1.2 การหาปริมาณผลผลิตที่จะได้รับกำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จุดกำไรสูงสุด หรือ โดยมี ราคาผลผลิต
บาท MFC MVP 0 x2 x1 2.1 การหาปริมาณปัจจัยแปรผันที่ใช้แล้วได้กำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ จะอยู่ ณ จุดที่ MVP=MFC และความชันของ MFC มากกว่าความชันของ MVC (จุดX2) 2. ระดับการใช้ปัจจัยแปรผันอย่างเดียวให้ได้ผลตอบแทนสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ปัจจัย X 2.2 การหาปริมาณผลผลิตที่ผลิตแล้วจะได้กำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ โดยมี Py= ราคาผลผลิต = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ผลผลิต
บาท TVP ขาดทุน II III I MFC Px. AVP ต้นทุน รายรับ AVP=Py.APP ต่อหน่วย ปัจจัย X ต่อหน่วย 0 X0 MVP=Py.MPP ขอบเขตการได้กำไรสูงสุดจากระยะต่างๆของฟังก์ชันการผลิต economic regionคือ ระยะต่างๆ ในฟังก์ชั่นการผลิตที่สามารถทำการผลิตและให้ได้กำไรเป็นบวก กรณีที่จำนวนปัจจัยแปรผันมีอย่างไม่จำกัด 1. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ภาพที่ 4.14 แสดงขอบเขตเศรษฐกิจของฟังก์ชันการผลิตในระยะที่ขาดทุน
บาท I II III กำไร AVP MFC Px ปัจจัย X 0 X1 MVP AVP ภาพที่ 4.15 แสดงขอบเขตเศรษฐกิจของฟังก์ชันการผลิตในระยะที่ได้รับกำไร
ผลผลิต (ข) MFC MFC บาท กำไร AFC กำไร (ก) AVP AFC AVP Px AVP Px AVP ปัจจัยX ปัจจัยX 0 X0 0 X0 1. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์
บาท กำไร AVP AVP MFC Px ปัจจัยX 0 X1 X0 MVP ... กรณีที่จำนวนปัจจัยแปรผันที่มีอยู่อย่างจำกัด… 1. ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ ขอบเขตเศรษฐกิจจะอยู่ในระยะหนึ่ง หรือสองก็ได้ 2. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ ขอบเขตเศรษฐกิจจะอยู่ในระยะหนึ่ง หรือสองก็ได้
ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ปัจจัยX2 X2 Iq ปัจจัยX1 X1 ต้นทุนและจุดที่เสียต้นทุนต่ำสุดในการใช้ปัจจัย 2 ชนิดร่วมกัน 1. พิจารณาจากต้นทุนต่ำสุด โดยกำหนดระดับผลผลิตระดับหนึ่ง 2. พิจารณาจากจำนวนผลผลิตสูงสุด โดยกำหนดต้นทุนให้ระดับหนึ่ง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ต้นทุนและจุดที่เสียต้นทุนต่ำสุดในการใช้ปัจจัย 2 ชนิดร่วมกัน 1. พิจารณาจากต้นทุนต่ำสุด โดยกำหนดระดับผลผลิตระดับหนึ่ง 2. พิจารณาจากจำนวนผลผลิตสูงสุด โดยกำหนดต้นทุนให้ระดับหนึ่ง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การจัดสรรปัจจัยแปรผันมากกว่า 2 ชนิด ให้เสียต้นทุนการผลิตต่ำสุด การจัดสรรปัจจัยแปรผันมากกว่า 2 ชนิด ให้ได้กำไรสูงสุด ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MVPx = VMPx
ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของผลผลิตความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของผลผลิต การหาส่วนผสมของผลผลิต 2 ชนิดเพื่อให้รายได้สูงสุด ผลผลิต y2 y2 ผลผลิต y1 y1
กลยุทธ์การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนกลยุทธ์การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน 1. การประกันภัยพืชผล 2. การผลิตสินค้าหลายชนิดแบบผสมผสาน 3. การเลือกกิจกรรมที่มีความคล่องตัว เช่น การปลูกผักระยะสั้นหรือ ผลิตสินค้าที่ต้นทุนต่ำ 4. การรักษาสภาพคล่องของธุรกิจ 5. การเก็บสำรองปัจจัยการผลิตที่สำคัญ 6. การตกลงทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า