1 / 48

เพ็ญพร เจนการกิจ, อัครพงศ์ อั้นทอง, สุวรรณา สายรวมญาติ, สันติ แสงเลิศไสว, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล,

การวิเคราะห์นโยบายการคลัง เพื่อการจัดการภัยนํ้าท่วมในประเทศไทย Fiscal Policy Analysis for Flood Disaster Management in Thailand. เพ็ญพร เจนการกิจ, อัครพงศ์ อั้นทอง, สุวรรณา สายรวมญาติ, สันติ แสงเลิศไสว, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล, ภัคณัฏฐ์ เผือกสกนธ์ และภู ลาชโรจน์.

shania
Download Presentation

เพ็ญพร เจนการกิจ, อัครพงศ์ อั้นทอง, สุวรรณา สายรวมญาติ, สันติ แสงเลิศไสว, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล,

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์นโยบายการคลังเพื่อการจัดการภัยนํ้าท่วมในประเทศไทยFiscal Policy Analysis for Flood DisasterManagement in Thailand เพ็ญพร เจนการกิจ, อัครพงศ์ อั้นทอง, สุวรรณา สายรวมญาติ, สันติ แสงเลิศไสว, กัมปนาท วิจิตรศรีกมล, ภัคณัฏฐ์ เผือกสกนธ์ และภู ลาชโรจน์ วันที่ 4 กันยายน 2556 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

  2. ที่มาและความสำคัญของการวิจัยที่มาและความสำคัญของการวิจัย • มหาอุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 สร้างความเสียหาย 1.44 ล้านล้านบาท แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ มกราคม 2555 • ลดความเสี่ยงที่จะเผชิญภัยพิบัติในอนาคต • แผนปฎิบัติเพื่อบรรเทาอุทกภัยระยะเร่งด่วน และแผนปฎิบัติการบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำแบบบูรณาการและยั่งยืน (กรณ๊ลุ่มน้ำเจ้าพระยา) งบประมาณ 3.5 แสนล้านบาท • ภาระหนี้สาธาณะกับประชาชนชาวไทย • หลักการผู้ได้รับประโยชน์เป็นผู้จ่าย • ต้นทุนความเสียหาย ผลประโยชน์จากโครงการฯ และนโยบายการคลัง

  3. พื้นที่เศรษฐกิจหลักที่ได้รับการป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัยพื้นที่เศรษฐกิจหลักที่ได้รับการป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัย ครอบคลุม 7 จังหวัด • นครปฐม • ปทุมธานี • นนทบุรี • สมุทรปราการ • สมุทรสาคร • อยุธยา • กรุงเทพฯ 4.29 ล้านครัวเรือน

  4. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย • ประเมินมูลค่าความเสียหายของครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ศึกษาจากเหตุการณ์น้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 • ประเมินมูลค่าผลประโยชน์ของครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ศึกษาจากโครงการตามแผนปฎิบัติฯ • วิเคราะห์นโยบายและมาตรการทางการคลังที่เหมาะสม

  5. แนวทางและขั้นตอนในการศึกษาแนวทางและขั้นตอนในการศึกษา

  6. จำนวนตัวอย่าง 6

  7. การเก็บข้อมูลภาคสนาม • ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เริ่มต้นการสุ่มแบบชั้นภูมิ  กำหนดจังหวัดและอำเภอในพื้นที่โครงการตามแผนฯ  กำหนดจำนวนครัวเรือนตามสัดส่วนอำเภอ  เลือกตำบลที่ประสบภัยน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554  เลือกครัวเรือนแบบบังเอิญ และห่างกันอย่างน้อย 1 กิโลเมตร  เลือกสัมภาษณ์เฉพาะหัวหน้าครัวเรือน/ผู้มีอำนาจตัดสินใจ • สำรวจโดยใช้แบบสัมภาษณ์ระดับครัวเรือน • สำรวจข้อมูลขั้นต้น 151 ราย • สำรวจข้อมูลขั้นสุดท้าย 1,073 ราย

  8. ขั้นตอนของ CVM • การกำหนดราคาเสนอ (offer price หรือ bid) • Pre-survey151 ตัวอย่าง ใน 7 จังหวัด ตามสัดส่วนประชากร ใช้คำถาม WTP แบบปลายเปิด • ใช้ค่าฐานนิยมเพื่อกำหนดค่า bid เริ่มต้น 100 200 Initial bid 400 บาท/ปี/ครัวเรือน 800 1,600 3,200

  9. Double-bounded CVM หน่วย:บาท/ปี/ครัวเรือน

  10. ขั้นตอนการสัมภาษณ์ See: Flood clip Edited.wmv

  11. ลักษณะทั่วไปของครัวเรือนตัวอย่างลักษณะทั่วไปของครัวเรือนตัวอย่าง • 85% ตั้งอยู่ใกล้ลำคลอง โดยห่างประมาณ 500-600 เมตร • 56% เป็นเจ้าของบ้าน และ42% น้ำท่วมที่พักอาศัย (447 ราย) • กรณีที่น้ำท่วมที่พักอาศัย • 63% ของที่พักอาศัยน้ำท่วม ได้รับความเสียหาย • 27% น้ำท่วมรอบตัวบ้าน แต่ไม่เข้าบ้าน,24% น้ำท่วม 10-50 ซม. และ 21% น้ำท่วม 1 ม.ขึ้นไป • 85% น้ำท่วมนานมากกว่า 3 อาทิตย์ (ประมาณ 7 อาทิตย์) • 72% ไม่อพยพย้ายเมื่อเจอน้ำท่วม หากย้าย 77% อพยพไปบ้านญาติ/เพื่อน

  12. ระดับความรุนแรงน้ำท่วมที่เกิดในพื้นที่อาศัยระดับความรุนแรงน้ำท่วมที่เกิดในพื้นที่อาศัย • การประเมินความรุนของน้ำท่วมที่เกิดขึ้น - 56% ประเมินจากระดับน้ำท่วม & ระยะเวลาน้ำท่วมขัง - 36% ประเมินจากระดับน้ำท่วม • ระดับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่อยู่อาศัย - 33% คิดว่าไม่รุนแรง - 35% คิดว่ารุนแรงน้อยถึงน้อยที่สุด - 23% คิดว่ารุนแรงมากถึงมากที่สุด

  13. ความเห็นต่อปัจจัยที่ลดความเสี่ยงจากภัยน้ำท่วมในอนาคตความเห็นต่อปัจจัยที่ลดความเสี่ยงจากภัยน้ำท่วมในอนาคต

  14. ความคิดเห็นต่อแผนแม่บทฯความคิดเห็นต่อแผนแม่บทฯ • 34 % ทราบว่าประเทศไทยมีแผนแม่บทฯ • 74% เห็นว่าควรมีโครงการตามแผน - 64% คิดว่าการมีโครงการจะสามารถลดความเสียหายของทรัพย์สินในอนาคต • ระดับความเสี่ยงจากภัยน้ำท่วมในอีก 5 ปี เมื่อดำเนินงานตามแผน - 26%เชื่อว่าจะไม่มีความเสี่ยงเลย - 51%เชื่อว่าจะเสี่ยงน้อยถึงน้อยที่สุด - 11% เชื่อว่าจะมีความเสี่ยงปานกลาง

  15. การประเมินมูลค่าความเสียหายจากภัยน้ำท่วม ปี พ.ศ. 2554

  16. ภาระต้นทุนและมูลค่าความเสียหายภาระต้นทุนและมูลค่าความเสียหาย

  17. สถานการณ์น้ำท่วมของชุดตัวอย่างสถานการณ์น้ำท่วมของชุดตัวอย่าง หน่วย: ร้อยละ ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  18. ระดับน้ำท่วมสูงสุดเมื่อน้ำท่วมที่พักอาศัย (447 ราย) หน่วย: ร้อยละ ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  19. ระยะเวลาเมื่อน้ำท่วมที่พักอาศัย (447 ราย) หน่วย: ร้อยละ ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  20. ภาระต้นทุนและมูลค่าความเสียหายภาระต้นทุนและมูลค่าความเสียหาย หน่วย: บาท/ครัวเรือน

  21. ต้นทุนเฉลี่ยของการเกิดอุทกภัย (1,703 ราย) หน่วย: บาท/ครัวเรือน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  22. ภาระและความเสียหายเมื่อที่อยู่อาศัยถูกน้ำท่วมภาระและความเสียหายเมื่อที่อยู่อาศัยถูกน้ำท่วม (447 ราย) หน่วย: บาท/ครัวเรือน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  23. มูลค่าความเสียหายตามระดับน้ำท่วม (447 ราย) หน่วย: บาท/ครัวเรือน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  24. มูลค่าความเสียหายตามระยะเวลาที่ท่วม(447 ราย) หน่วย: บาท/ครัวเรือน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  25. ฟังก์ชันความเสียหายจากน้ำท่วมปี 54 ที่มา: จากการคำนวณ

  26. สรุปผลการวิเคราะห์ภาระต้นทุนของครัวเรือนสรุปผลการวิเคราะห์ภาระต้นทุนของครัวเรือน • ภาระต้นทุนโดยเฉลี่ย 16,074 บาท • หากน้ำท่วมที่พักอาศัยจะมีต้นทุน 55,897 บาท • ปทุมธานีมีต้นทุนสูงสุด 119,940 บาท (ท่วมที่พักอาศัย) • ต้นทุนส่วนใหญ่เกิดจากการบูรณะฟื้นฟู • ความเสียหาย - ตามระดับความสูงของน้ำ 11,688 - 108,567 บาท - ตามระยะเวลาท่วมขัง 538 – 64,715 บาท • ความเสียหายเพิ่ม 532 บาท/ 1 ซม. และ 735 บาท/ 1 วัน

  27. การวิเคราะห์ผลประโยชน์ของครัวเรือนจากการลดความเสี่ยงภัยน้ำท่วมการวิเคราะห์ผลประโยชน์ของครัวเรือนจากการลดความเสี่ยงภัยน้ำท่วม

  28. แนวคิดและวิธีการ • ประยุกต์ใช้ CVM ประมาณค่า WTP • Dichotomous choice แบบ Doubled-bound -- Hanemannet. al. (1991) & Cameron and Quiggin (1994)-- • Normal & Log-normal • พิจารณา log-likelihood • ตัวแปรควบคุม ความเสี่ยงที่ลดลง รายได้ ควรมีโครงการ • มูลค่าผลประโยชน์ = WTP*4.29 ล้านครัวเรือน

  29. สัดส่วนการยอมรับและปฎิเสธของชุดตัวอย่างสัดส่วนการยอมรับและปฎิเสธของชุดตัวอย่าง ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  30. ความเสี่ยงที่ลดลงในอีก 5 ปี เมื่อมีโครงการฯ ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  31. ค่า log-likelihood ของแบบจำลองต่างๆ ที่มา: จากการคำนวณ

  32. ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ์ด้วย MLE(895 ตัวอย่าง) ที่มา: จากการคำนวณ

  33. ผลประโยชน์จากโครงการตามแผนฯผลประโยชน์จากโครงการตามแผนฯ ณ ระดับรายได้ต่างๆ ที่มา: จากการคำนวณ

  34. ผลประโยชน์จากโครงการตามแผนฯ แบ่งตามจังหวัด หน่วย: พันล้านบาท/ปี

  35. สรุปผลการวิเคราะห์ผลประโยชน์ของครัวเรือนสรุปผลการวิเคราะห์ผลประโยชน์ของครัวเรือน • ครัวเรือนยินดีจ่ายสนับสนุนเฉลี่ยปีละ 2,056 บาท • ผลประโยชน์โดยรวมเฉลี่ยปีละ 8.82 พันล้านบาท • คำนวณตามความเสี่ยงที่ลดลงปีละ 11 พันล้านบาท • คำนวณตามโครงสร้างรายได้ ปีละ 12 พันล้านบาท • ผลประโยชน์ที่ได้รับ แตกต่างกันตามระดับความเสี่ยงที่ลดลง - น้อยที่สุด 2,261 บาท/ครัวเรือน/ปี - มากที่สุด 2,904 บาท/ครัวเรือน/ปี • ผลประโยชน์ที่ได้รับ แตกต่างกันตามระดับรายได้ของครัวเรือน แต่โดยรวมได้รับผลประโยชน์ 12 พันล้านบาท/ปี

  36. การวิเคราะห์นโยบายและมาตรการทางการคลังการวิเคราะห์นโยบายและมาตรการทางการคลัง

  37. ภาษีน้ำท่วมเพื่อการระดมทุนในประเทศต่างๆภาษีน้ำท่วมเพื่อการระดมทุนในประเทศต่างๆ

  38. ความคิดเห็นต่อหลักการจัดหาแหล่งทุนความคิดเห็นต่อหลักการจัดหาแหล่งทุน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  39. ความคิดเห็นต่อมาตรการหรือแนวทางจัดหาทุนความคิดเห็นต่อมาตรการหรือแนวทางจัดหาทุน ที่มา: จากการสำรวจปี พ.ศ. 2556

  40. ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณาตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา • การจัดเก็บภาษีด้วยฐานทรัพย์สิน น่าจะมีความเป็นธรรม เพราะเก็บจากแหล่งที่ตั้ง และจัดเก็บจากผู้ถือครอง แต่…… • ไม่มีความสะดวก • ไม่มีประสิทธิภาพ ที่มา: แบ๊งค์ งามอรุณโชติ และคณะ

  41. ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณาตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา

  42. ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณาตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา

  43. ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ)ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ)

  44. ตัวอย่างโครงสร้างภาษีและเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ)

  45. ทางเลือกอื่นๆ (ต่อ) หรือจะพิจารณาจากระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๖ ???

  46. สรุปผลการวิเคราะห์ • มูลค่าความเสียหายจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 532 บาท ต่อ ความสูงของน้ำที่เพิ่มขึ้น 1 ซม. และจะเพิ่มขึ้น 735 บาท ต่อ การท่วมขังที่เพิ่มขึ้นแต่ละวัน • มูลค่าผลประโยชน์ของครัวเรือนในพื้นที่โครงการตามแผนฯ ประมาณ 12 พันล้านบาทต่อปี (พิจารณาตามโครงสร้างรายได้) • นโยบาย/มาตรการทางการคลัง: ภาษีน้ำท่วม  จัดเก็บจากภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งภาษีสรรพสามิต, PFP or PFS

  47. ข้อเสนอแนะ • ควรจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยจากน้ำท่วม รวมทั้งความเสี่ยงจากภัยพิบัติอื่นๆ • ให้ความรู้ความเข้าใจกับภาคประชาชนในด้านการเตรียมการระดับครัวเรือนเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ • พิจาณาทางเลือกอื่นๆ มากกว่าจำหน่ายพันธบัตร เช่นจัดเก็บภาษี และจัดเก็บค่าธรรมเนียมน้ำไม่ท่วม • ให้ความสำคัญกับระบบประกันภัยน้ำท่วม ในพื้นที่เสี่ยง • ควรมีการศึกษาประเด็นทางด้านกฎหมาย/กฎระเบียบที่จะนำมาซึ่งแนวทางและขั้นตอนการจัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมที่เป็นรูปธรรม

  48. ขอบคุณสำหรับทุกความเห็นขอบคุณสำหรับทุกความเห็น

More Related