1 / 28

โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน A Structural Equation Model of Spiritual Leadership for Basic School Administrators. อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วิโรจน์ สารรัตนะ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ดร.จิรวรรณ เล่งพานิชย์.

shamus
Download Presentation

โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน A Structural Equation Model of Spiritual Leadership for Basic School Administrators. อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วิโรจน์ สารรัตนะ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ดร.จิรวรรณ เล่งพานิชย์ นางสาวกมลวรรณ ทิพยเนตร รหัส 537050074-8 นักศึกษาปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา Solving Problems Problems ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ผลการประเมินภายนอก มาตรฐานที่ 10 ด้านผู้บริหารสถานศึกษาระดับ “พอใช้” ปัญหาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การมีส่วนร่วมในการสร้างวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ สื่อสารชัดเจน ปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ ปัญหา การศึกษาไทย การสร้างความมั่นใจในการทำงาน ผู้บริหารสถานศึกษาไม่มีวิสัยทัศน์ สร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน ความหวัง เผชิญสถานการณ์วิกฤติได้ ขาดจิตวิญญาณในการทำงาน ปัญหาพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีความเชื่อเกิดจากปัญญา ขาดศีลธรรม ความรักในวิชาชีพ ศรัทธา ปฏิบัติตามแนวทางเรียนรู้ เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน ขาดศรัทธาในผู้นำ คงเส้นคงวาในเรื่องคำพูด ความไว้วางใจ ทำงานด้วยความซื่อสัตย์ ขาดความไว้วางใจจากผู้ใต้บังคับบัญชา สร้างสัมพันธภาพที่ดี

  3. The Importance of Research โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัยนี้จะสามารถสร้างตัวแปรแฝงที่เป็นตัวแปรทางจิตวิทยาที่ไม่สามารถสังเกตหรือวัดได้โดยตรงแต่จะสามารถอธิบายและประมาณค่าได้จากตัวแปรสังเกต การสร้างโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ในลักษณะที่เป็นโมเดลเหตุและผล (casual – effect model)ขึ้นเพื่อทดสอบความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การศึกษาระดับการแสดงออกนั้น จะทำให้สามารถทราบจุดอ่อนจุดแข็งของตัวแปร แต่ละตัวที่นำมาศึกษาว่าอยู่ในระดับใด ตัวแปรใดมากกว่าตัวแปรใด ซึ่งจะทำให้การกำหนดแนวทางการพัฒนาเป็นไปอย่างถูกต้อง การศึกษาเปรียบเทียบนั้น จะทำให้ทราบถึงแนวทางการพัฒนาตัวแปรนั้นๆ ว่าควรใช้หลักความเหมือนกันหรือหลักความแตกต่างกันหากผลการวิจัยพบว่าตัวแปรที่นำมาเปรียบกันนั้นมีความเหมือนกันหรือมีความแตกต่างกัน การศึกษาขนาดของอิทธิพลทางตรง ทางอ้อม และโดยรวมนั้น จะทำให้ทราบถึงจุดเน้นให้การพัฒนาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณว่าควรให้ความสำคัญกับปัจจัยใดและในเส้นทางใดมากกว่ากันโดยพิจารณาจากขนาดของอิทธิพลของตัวแปรที่นำศึกษา

  4. คำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐานคำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน สมมติฐาน คำถาม วัตถุประสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีเพศ อายุ ขนาดของโรงเรียนและระดับการศึกษาต่างกัน มีการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณต่างกัน Morgan (1992), Cotton (1996) ,Lashway (2002), Bush & Glover (2003) , Jones (2008), สัมฤทธิ์ กางเพ็ง (2551) , จิรวรรณ เล่งพานิชย์ (2554) เพื่อศึกษาระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเปรียบเทียบจำแนกตามเพศ อายุ ขนาดของโรงเรียน และระดับการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานมีการแสดงออกถึงภาวะผู้นำ เชิงจิตวิญญาณอยู่ในระดับใด เมื่อเปรียบเทียบจำแนกตาม เพศ อายุ ขนาดของโรงเรียน และระดับการศึกษามีความแตกต่างกันหรือไม่

  5. คำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐานคำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน สมมติฐาน คำถาม วัตถุประสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานมีการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณอยู่ในระดับใด เมื่อเปรียบเทียบจำแนกตามเพศ อายุ ขนาดของโรงเรียน และระดับการศึกษามีความแตกต่างกันหรือไม่ เพื่อศึกษาระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำ เชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเปรียบเทียบจำแนกตามเพศ อายุ ขนาดของโรงเรียน และระดับการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีเพศ อายุ ขนาดของโรงเรียนและระดับการศึกษาต่างกัน มีการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำ เชิงจิตวิญญาณต่างกัน วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2549) ; จิตติมา วรรณศรี (2550) ; จิรวรรณ เล่งพานิชย์ (2554) ; นิกัญชลา ล้นเหลือ (2554)

  6. คำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐานคำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน สมมติฐาน วัตถุประสงค์ คำถาม โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ Karadag (2009),Chen&Yang (2012) โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่ เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูล เชิงประจักษ์

  7. คำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐานคำถาม/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน สมมติฐาน วัตถุประสงค์ คำถาม ปัจจัยที่นำมาศึกษามีน้ำหนักของอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานเพียงใด เพื่อศึกษาขนาดอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยที่นำมาศึกษาต่อภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปัจจัยที่นำมาศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับสูง Karadag (2009), Chen&Yang (2012)

  8. ขอบเขตการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา 2555 จำนวน 30,924 คน และขนาดกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 1,040 คน ตัวแปร ตัวแปรแฝงภายนอก ได้แก่ 1) การปฏิบัติงานของมนุษย์ ตัวแปรแฝงภายใน ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ 2) ความพึงพอใจในการทำงาน 3) ความผูกพันต่อองค์การ 4) ผลิตภาพ

  9. นิยามศัพท์เฉพาะ ตัวแปรแฝง ตัวแปรแฝงภายใน โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแปรแฝงภายนอก ตัวแปรสังเกตได้ ภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณ การปฏิบัติงานของมนุษย์ ความผูกพันต่อองค์การ ความพึงพอใจ ในการทำงาน ผลิตภาพ วิสัยทัศน์ สมรรถภาพ คุณภาพ ค่าจ้าง เชิงปทัสถาน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ต้นทุน ความหวัง ทักษะ เชิงจิตพิสัย สภาพแวดล้อม แรงจูงใจ ศรัทธา การนิเทศ เวลา ความไว้วางใจ ความรู้ ความสุข เชิงต่อเนื่อง (หน้า 7-10)

  10. บทที่ 2วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 นิยาม แนวคิด องค์ประกอบ นิยามเชิงปฏิบัติการและตัวบ่งชี้ของภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ 4 2 โมเดลสมมติฐาน ภาวะผู้นำ เชิงจิตวิญญาณ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ และเส้นทางอิทธิพล 3 นิยาม แนวคิด องค์ประกอบ นิยามเชิงปฏิบัติการและตัวบ่งชี้ของ แต่ละองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ

  11. นิยามภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณนิยามภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ Fry (2003) กล่าวถึงภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ คือผู้ที่สอนหลักการที่ถูกต้อง พัฒนามาจากทฤษฎีการจูงใจ และเป็นแม่แบบในการพัฒนาองค์การเชิงบวก Draft (2005) ชี้ให้เห็นว่า ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณไม่เพียงสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นเท่านั้น แต่ยังสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ตาม Reave (2005) กล่าวว่า ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณจะสร้างความน่าเชื่อถือและความภาคภูมิใจ ในตนเอง เช่น ความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรมและจริยธรรมในตนเอง Magnusen (2002) ; Smith (2007) ; Aydin & ceyland (2009)ได้ทำการทบทวนวรรณกรรมถึงแนวโน้มของผู้นำที่มีประสิทธิผลในสถานศึกษาพบว่า สิ่งสำคัญที่สุดคือ ผู้นำต้องมีภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณ ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจูงใจหรือนำบุคคลอื่น ๆ อย่างมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้สร้างความหวัง พลังศรัทธา และความไว้วางใจในการปฏิบัติงาน

  12. สังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ • theoretical framework • ปี 1997-2012 • มีจำนวน 37 องค์ประกอบ • ความถี่ตั้งแต่ 6 ขึ้นไป conceptual framework ( หน้า 20-22 ) วิสัยทัศน์ Fairholm (1997), Fry (2003), Borger (2007), Fleming (2007), Smith (2007), Willium Hunsaker (2008), Boorom (2009), Juhaizi (2011), Chegini & Nezhad (2011), Nooralizad & Ghorchian (2011), Chen & Yang (2012) ความหวัง Magnusen (2001), Fry (2003), Fleming (2007), Willium Hunsaker (2008), Boorom (2009), Juhaizi (2011), Nooralizad & Ghorchian (2011), Chen & Yang (2012) ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ศรัทธา Magnusen (2001), Fry (2003), Fleming (2007), Willium Hunsaker (2008), Boorom (2009), Juhaizi (2011), Nooralizad & Ghorchian (2011), Chen & Yang (2012) ความไว้วางใจ Fairholm (1997), Magnusen (2001), Solomon & Hunter (2002), Fry (2003), Fleming (2007), Nooralizad & Ghorchian (2011)

  13. สังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ • theoretical framework • ปี 2005-2012 • มีจำนวน 19 ปัจจัย • ความถี่ตั้งแต่ 4 ขึ้นไป ( หน้า 32-34 ) conceptual framework Lyons (2005) , Fahey & Allen (2007), Park (2004), Bryan (2008) , Abdul Ghani, Alzidiyeen & Aldarabah (2009), Cho (2010), , Ehsan & Naeem (2010) , Marschke,Preziosi & Harrington (2010) , Ghasmizad (2012) , Rehman,Mansoor & Bilal (2012) ความพึงพอใจ ในการทำงาน ความผูกพันต่อ องค์การ Martinez & Schmidt (2005) , Fahey & Allen (2007) , Fry, Vuttci & Cedillo (2008), Abdul Ghani, Alzidiyeen & Aldarabah (2009), Ehsan & Naeem (2010) , Rehman,Mansoor & Bilal (2012) ภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณ การปฏิบัติงาน ของมนุษย์ Fahey & Allen (2007) , Mohamed,Wisniseki & Syed (2004), Fernando (2007) , Aydin and Ceyland (2009) , Karadag (2009) ผลิตภาพ Bryan (2008) , Karadag (2009), Ghasmizad (2012) , Rehman,Mansoor & Bilal (2012)

  14. เส้นทางอิทธิพล 1 2 ความพึงพอใจ ในการทำงาน การปฏิบัติงาน ของมนุษย์ 3 3 ภาวะผู้นำเชิง จิตวิญญาณ 4 1 6 4 ความผูกพันต่อ องค์การ 5 5 ผลิตภาพ 2 6 ( หน้า 39-40 )

  15. สังเคราะห์องค์ประกอบของการปฏิบัติงานของมนุษย์สังเคราะห์องค์ประกอบของการปฏิบัติงานของมนุษย์ • theoretical framework • ปี 1972-2012 • มีจำนวน 20 องค์ประกอบ • ความถี่ตั้งแต่ 5 ขึ้นไป conceptual framework ( หน้า 47 ) Edwin (1972), Dunn, brown and McGuigan (1994), Terence Neill and Martin Borel,(1999), Hill , McMahon and Pilati (2005), Lorenzen (2009) , Thomsom Reuters (2011), Jaakko Poyry Cosulting, [n.d.] สมรรถภาพ Edwin (1972), Dunn, brown and McGuigan (1994), Hill , McMahon and Pilati (2005), Peterson and Arnn (2005), Rademeyer anddu Plessis and Kepner (2012), Lorenzen (2009) , Jaakko Poyry Cosulting, [n.d.] ทักษะ การปฏิบัติงานของมนุษย์ Terence Neill and Martin Borel,(1999), Hill , McMahon and Pilati (2005), Peterson and Arnn (2005), Rademeyer anddu Plessis and Kepner (2012), Rooney (2011), Jaakko Poyry Cosulting, [n.d.] แรงจูงใจ ความรู้ Hill , McMahon and Pilati (2005), Peterson and Arnn (2005), Lorenzen (2009) , Rooney (2011), Juan,Marin-Garcia et,al. (2011)

  16. สังเคราะห์องค์ประกอบของความพึงพอใจในการทำงานสังเคราะห์องค์ประกอบของความพึงพอใจในการทำงาน • theoretical framework • ปี 1970 -2010 • มีจำนวน 22 องค์ประกอบ • ความถี่ตั้งแต่ 5 ขึ้นไป conceptual framework ( หน้า 63-64 ) Herzberg (1970), Spector(1997), Rose (2001), J.Williams(2004), Scott (2004), Georgios et.al.(2008), Mueller and Kim (2008), National Science Board(2008), Abu (2010), Usman and Ahmad (n.d.) ค่าจ้าง ความพึงพอใจในการทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน Herzberg (1970), J.Williams(2004), Scott (2004), Georgios et.al.(2008), Mueller and Kim (2008), Kashefi (2009)., Abu (2010), Usman and Ahmad (n.d.) การนิเทศ Herzberg (1970), Patton (1990), Georgios et.al.(2008), National Science Board(2008), Usman and Ahmad (n.d.) Locke(1976), Argyle(1989), Iverson et.al(1998)., Boehm and Lyubomirsky (2008), Abu (2010) ความสุข

  17. สังเคราะห์องค์ประกอบของความผูกพันต่อองค์การสังเคราะห์องค์ประกอบของความผูกพันต่อองค์การ • theoretical framework • ปี 1981 -2011 • มีจำนวน 13 องค์ประกอบ • ความถี่ตั้งแต่ 11 ขึ้นไป conceptual framework ( หน้า 83-84 ) mayer and Alen (1990), Meyer, Allen, and Smith (1993), Blau (2003), Nelson and Quick (2006), Su-Chao and Ming-Shing (2006), McCroskey and Harrington (2007), Solinger andVan Olffen and Roe (2007), Cicekli (2008), Sonia San Mart ́ın (2008), Fu, Bolande and Jones (2009), Chang et al (2011), วิศิษฐ์ ฤทธิ์บุญไชย (2553) ความผูกพันเชิงปทัสถาน ความผูกพันต่อองค์การ mayer and Alen (1990), Meyer, Allen, and Smith (1993), Blau (2003), Nelson and Quick (2006), Su-Chao and Ming-Shing (2006), McCroskey and Harrington (2007), Solinger andVan Olffen and Roe (2007), Cicekli (2008), Sonia San Mart ́ın (2008), Fu, Bolande and Jones (2009), Chang et al (2011) ความผูกพันเชิงต่อเนื่อง Meyer, Allen, and Smith (1993), Blau (2003), Nelson and Quick (2006), Su-Chao and Ming-Shing (2006), Bagraim and Sader(2007), McCroskey and Harrington (2007), Solinger andVan Olffen and Roe (2007), Cicekli (2008), Sonia San Mart ́ın (2008), Fu, Bolande and Jones (2009), Chang et al (2011), วิศิษฐ์ ฤทธิ์บุญไชย (2553) ความผูกพันเชิงจิตพิสัย

  18. สังเคราะห์องค์ประกอบของผลิตภาพสังเคราะห์องค์ประกอบของผลิตภาพ • theoretical framework • ปี 1991 -2011 • มีจำนวน 19 องค์ประกอบ • ความถี่ตั้งแต่ 4 ขึ้นไป conceptual framework ( หน้า 96-97 ) Witt (1992), Stainer (1996), Gordon (1997), Stainer and Stainer (1997), Granderson (2001), Heizer and Render(2004), Yuri and Nembhard (2004), Gao (2010), สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ (2552) คุณภาพ Lynch (1991), Stainer (1996), Gordon (1997), Granderson (2001), Abo and Mangin (2002), Yuri and Nembhard (2004), Okronkwo (2010), Barton (2011), สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ (2552) ต้นทุน ผลิตภาพ Lynch (1991), Granderson (2001), Abo and Mangin (2002), Yuri and Nembhard (2004), Brubaker (2006), Gao (2010), Okronkwo (2010) เวลา Haynes (2007), Gao (2010), Okronkwo (2010), สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ (2552) สภาพแวดล้อม

  19. The model of spiritual leadership for the basic school administrators ค่าจ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน การนิเทศ ความสุข สมรรถภาพ ความพึงพอใจในการทำงาน วิสัยทัศน์ ทักษะ การปฏิบัติงานของมนุษย์ ความหวัง แรงจูงใจ ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณ ความรู้ ศรัทธา ความผูกพันเชิงปทัสถาน ความไว้วางใจ ความผูกพันต่อองค์การ ความผูกพันเชิงต่อเนื่อง ผลิตภาพ ความผูกพันเชิงจิตพิสัย คุณภาพ ต้นทุน เวลา สภาพแวดล้อม

  20. บทที่ 3วิธีดำเนินการวิจัย

  21. วิธีการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi–stage sampling) ภาคเหนือ 9 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ 20 จังหวัด ภาคกลาง 22 จังหวัด ภาคตะวันออก 7 จังหวัด ภาคตะวันตก 5 จังหวัด ภาคใต 14 จังหวัด 1 ภาคเหนือ 3 จังหวัด ภาคตะวันออก 2 จังหวัด ภาคตะวันตก 1 จังหวัด ภาคใต 5 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ 6 จังหวัด ภาคกลาง 6 จังหวัด 2 เขตมัธยม เขตมัธยม เขตประถม เขตประถม เขตมัธยม เขตมัธยม เขตประถม เขตประถม เขตมัธยม เขตมัธยม เขตประถม เขตประถม 3 เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ เล็ก ใหญ่ กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง

  22. อัตราส่วนในการสุ่ม 4: 1 ประถมศึกษา 3,453 = 852 คน มัธยมศึกษา 769 = 188 คน รวม 4,222 =1,040 คน

  23. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างและตรวจสอบคุณภาพ ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ Content validity สร้างเครื่องมือในการวิจัย Reliability ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ Construct validity Try out ผู้บริหาร 30 คน

  24. ขอบพระคุณค่ะ

  25. ร่างแบบสอบถามในการวิจัยร่างแบบสอบถามในการวิจัย โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

  26. ร่างแบบสอบถามในการวิจัยร่างแบบสอบถามในการวิจัย ตอนที่ 1 ข้อมูลสถานภาพของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงใน หรือเติมข้อความลงในช่องว่าง ที่ตรงกับความเป็นจริงของท่าน เพศ1. ชาย 2. หญิง อายุ 1. ต่ำกว่า 30 ปี 2. 31-40 ปี 3. 41-50 ปี 4. 50 ปีขึ้นไป วุฒิการศึกษาสูงสุด 1. ปริญญาตรี 2. ปริญญาโท 3. ปริญญาเอก ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง ทางบริหารสถานศึกษา 1. ต่ำกว่า 5 ปี 2. 5-10 ปี 3. 10- 20 ปี 4. 20 ปีขึ้นไป

  27. ร่างแบบสอบถามในการวิจัยร่างแบบสอบถามในการวิจัย ขนาดของสถานศึกษาและระดับการศึกษาที่เปิดสอน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 1. โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก (จำนวนนักเรียน 120 คนลงมา) 2. โรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง (จำนวนนักเรียน 121 – 300 คน) 3. โรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ (จำนวนนักเรียน 301 คนขึ้นไป) เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 1. โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก (จำนวนนักเรียน 499 คนลงมา) 2. โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง (จำนวนนักเรียน 500 – 1,499 คน) 3. โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ (จำนวนนักเรียน 1,500 คนขึ้นไป)

  28. ร่างแบบสอบถามในการวิจัยร่างแบบสอบถามในการวิจัย • ตอนที่ 2ความคิดเห็นต่อระดับพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คำชี้แจง โปรดอ่านข้อความต่อไปนี้โดยละเอียดแล้วทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด โดยพิจารณาจากหมายเลขที่มีความหมายดังต่อไปนี้

More Related