410 likes | 947 Views
โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน. อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔. บริบทกะพ้อ. ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อำเภอกะพ้อ. คน. อันดับป่วย 10 อันดับโรค ผู้ป่วยนอก. การรับประทานอาหารร่วมกับน้ำบูดู การรับประทานอาหารประเภทแกงกะทิ,ไขมันสูง.
E N D
โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔
ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อำเภอกะพ้อ คน
อันดับป่วย 10 อันดับโรค ผู้ป่วยนอก
การรับประทานอาหารร่วมกับน้ำบูดูการรับประทานอาหารร่วมกับน้ำบูดู การรับประทานอาหารประเภทแกงกะทิ,ไขมันสูง
จุดเน้น อำเภอกะพ้อ ปี 2554 โรคที่พบบ่อยในพื้นที่ (Dermatitis, LBP, Diarrhea, ไข้หวัด) เน้นสร้างนำซ่อม, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) 2. อนามัยช่องปาก 3. HT 4. DM 5. ไข้เลือดออก อนามัยแม่และเด็ก ระบบบริการ => รพ.สต.
ชาวกะพ้อมีสุขภาวะ เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ปชช. มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างยั่งยืน ปชช. เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบล -สนับสนุนงบ ทรัพยากร กองทุนสุขภาพตำบล -สนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร กลุ่มแกนนำสตรี - ภาคี แกนนำผู้ป่วย HT/DM - เป็น model อสม - คืนข้อมูล ประสาน. คณะกรรมการ รพ.สต. -คิด วางแผน ประเมินประชาสัมพันธ์ กลุ่มแม่อาสา - ระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพให้มีคุณภาพ เสริมสร้างระบบการดูแลสุขภาพประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างการดูแลสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เสริมสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทุกภาคส่วนให้เข้มแข็ง กระบวนการ พื้นฐาน เสริมสร้างระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตและเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร เสริมสร้างขวัญและกำลังใจ
ROADMAP การพัฒนา vision ชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน • ระยะที่ 3 ( 2555 ) • ขยายเครือข่ายแกนนำ HHC เกิดนโยบายสาธารณะชุมชนพึ่งตนเองได้ • การให้บริการที่มีคุณภาพ • เกิดกลุ่มเป้าหมายตัวอย่างในการขับเคลื่อนสุขภาพด้วยตนเอง สหวิชาชีพ ชุมชน • ระยะที่ 2 ( 2554 ) • สร้างศรัทธาแก่แกนนำในการจิตอาสา • สร้างศรัทธาของเจ้าหน้าที่ต่อชุมชน (Humanize, จิตสาธารณะ, ความรู้) • - การบริหารจัดการระบบที่เชื่อมโยงหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาล • เน้นการบริการใกล้บ้านใกล้ใจที่มีคุณภาพ • แกนนำ (กลุ่มเดิม) ให้การดูแลในชุมชนด้วยจิตอาสา • เกิดการรวมกลุ่ม/ ชมรมผู้ป่วย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี • ระยะที่ 1 ( 2553) • สร้างศรัทธาแก่แกนนำในการจิตอาสา • สร้างศรัทธาของเจ้าหน้าที่ต่อชุมชน (Humanize, จิตสาธารณะ, ความรู้) • การบริหารจัดการระบบที่เชื่อมโยงหน่วยบริการปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาล • เรียนรู้การสร้างจิตสำนึกเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (สร้างแรงจูงใจ, สิ่งบันดาลใจ) ในกลุ่มเป้าหมาย
วิเคราะห์โครงการ โดยใช้ FORCE FIELD ANALYSIS • 1. ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย • โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถ ควบคุมอาการได้ ปัจจัยเอื้อ อุปสรรค 3. ลดผู้ป่วยรายใหม่ได้ ( impact) 3.สนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องมือ 2. สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการปัญหาโรค HT/DM 1. สร้างเสริมระบบการดูแล HT/DM 15 คะแนน 20 คะแนน เครื่องวัดความดัน/เบาหวานไม่พอ อสม.ครอบคลุมทุกพื้นที่ และใช้เครื่องมือได้ เข้ากองทุน100% อปท.ไม่เข้มแข็ง พยาบาลทุก รพ.สต. detect ช้า
คณะกรรมการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง ระดับตำบล อำเภอกะพ้อ
วัตถุประสงค์ - ป้องกันไม่ให้กลุ่มปกติเป็นกลุ่มเสี่ยงหรือป่วย กลุ่มปกติ คัดกรองโดย อสม. คัดกรองซ้ำโดยจนท. ใบแจ้งผล แยกกลุ่มหลังจากการ คัดกรอง HT/DM
กลุ่มปกติที่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานถูกส่งมายัง รพ. เพื่อให้แพทย์วินิจฉัย
ผลการดำเนินงานคัดกรอง HT/DM ปี 2551 – 2554
ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป(ข้อมูล ณ ต.ค.53-มี.ค.54)ระดับ คปสอ
ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รายใหม่ อำเภอกะพ้อ คน
วัตถุประสงค์ -Detect เร็ว กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมายต้องชัดเจน จำนวน คน บ้านเลขที่....อยู่ที่ไหน??? genogram ทุกครอบครัว
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 603 รายผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 252 รายผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 4 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ( ไตวาย 17ราย แผลที่เท้า5 ราย) กลุ่มป่วยและผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
วัตถุประสงค์1. กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน2. ลดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน กิจกรรมรับประทานอาหารตัวอย่าง
กิจกรรมให้ความรู้ลดเกลือ หวาน มัน เพิ่มผักผลไม้ทุกสัปดาห์ เพิ่มผักกันดีกว่า
เข้าฐานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วย/แกนนำชุมชนเข้าฐานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วย/แกนนำชุมชน ฐานอารมณ์ ฐานการใช้ยา ฐานดูแลเท้า ฐานอาหาร
ช่องทางการสื่อสารการดำเนินงานโรคเรื้อรัง HT/DMอำเภอกะพ้อ ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน รพ. ปฐมภูมิ คปสอ. PCT ประชุมเดือนละ 1 ครั้ง ประชุมเดือนละ 1 ครั้ง
ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคความดันฯและเบาหวานที่สามารถควบคุมอาการได้ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคความดันฯและเบาหวานที่สามารถควบคุมอาการได้
จากการตอบแบบสอบถาม ผู้ป่วยสูงอายุ และ ญาติผู้ป่วย จำนวน 100 คน ได้สัญลักษณ์ดังนี้ เช้า เที่ยง เย็น ก่อนนอน
วงล้อคัดกรอง กราฟระดับน้ำตาล/ความดัน
แบบอย่างที่ดี จากการดำเนินงานโครงการ คือ การสร้างเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาโรคความดันเบาหวานในชุมชน
ผลักดันกลไกการขับเคลื่อนผลักดันกลไกการขับเคลื่อน สาธารณสุข ชุมชน อปท.
การดำเนินงานในชุมชน การดำเนินงาน ในชุมชน....เพื่อหาแนวทางการดำเนินร่วมกัน
ให้ดูวิดีโอศึกษาการดำเนินงาน รพ.อุบลรัตน์
ข้อตกลงร่วมกันในกลุ่มแม่บ้านข้อตกลงร่วมกันในกลุ่มแม่บ้าน • เมนูอาหาร 1. แกงเนื้อ เป็น ซิแงเนื้อ , ต้มขมิ้นไก่ยกเว้นงานใหญ่ใช้แกงเนื้อ (หน้าตาของเจ้าภาพ) 2. ยำผักกูดใส่กะทิ เป็น ยำผักกูดแห้ง 3. บูดู เป็น บูดูสมุนไพร 4. แกงส้ม 5. ผัก