90 likes | 255 Views
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน. รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552. ผลกระทบของการอพยพแรงงาน. การจำกัด หรือ สนับสนุนแรงงาน ต่างชาติ ตลาดแรงงาน ใน ประเทศ สมมติว่า แรงงานต่างชาติและแรงงานในประเทศ ทดแทนกันได้อย่าง สมบูรณ์ ในระยะ สั้น ทุน มีปริมาณคงที่
E N D
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471การโยกย้ายแรงงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552
ผลกระทบของการอพยพแรงงานผลกระทบของการอพยพแรงงาน • การจำกัด หรือ สนับสนุนแรงงานต่างชาติ ตลาดแรงงานในประเทศ • สมมติว่า แรงงานต่างชาติและแรงงานในประเทศ ทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ • ในระยะสั้น ทุนมีปริมาณคงที่ • เส้นอุปทานเคลื่อนออก การจ้างงานเพิ่ม ค่าจ้างลด • แต่...การจ้างแรงงานในประเทศลดลง • แรงงานต่างชาติ แย่งงาน ไปจาก คนในประเทศหรือเปล่า?
ในระยะสั้น • ถ้าเส้นอุปสงค์ลาดลง และ สินค้าทุนมีปริมาณคงที่ • แรงงานต่างชาติเพิ่ม ค่าจ้างลด และ การจ้างงานของคนในประเทศลด • แรงงานต่างชาติอาจเข้ามาเสริม (complement) • ไม่ได้แข่งเพื่องานประเภทเดียวกัน • แต่ช่วยให้แรงงานในประเทศ งานอื่นที่ดีกว่า • ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของคนในประเทศสูงขึ้น • เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อนขึ้น • ค่าจ้างที่สูงขึ้น จูงใจให้คนในประเทศเข้ามาในตลาดแรงงานมากขึ้น
ในระยะยาว ถ้าแข่งขันในตลาดแรงงานประเภทเดียวกัน • แรงงานต่างชาติ เส้นอุปทานแรงงาน เคลื่อนออก • ค่าจ้างลดลง • เมื่อหน่วยผลิตได้ใช้แรงงานราคาถูกลง เพิ่มปริมาณทุน • เส้นอุปสงค์แรงงาน เคลื่อนออก • หลังจากการปรับตัวของทุน ค่าจ้างจะกลับสู่ระดับเดิม • สรุป • ในระยะยาว ระดับการจ้างงานของคนในประเทศ จะเท่ากับที่เคยเป็นก่อนจะมีการย้ายเข้าของแรงงานต่างชาติ
ผลกระทบจากการย้ายเข้าของแรงงานต่างชาติผลกระทบจากการย้ายเข้าของแรงงานต่างชาติ • ผลต่อการจ้างงาน • แรงงานต่างชาติ ลดโอกาสการจ้างงานสำหรับกำลังแรงงานที่มีอยู่ขณะนั้นหรือไม่ • สองมุมมอง • ผลต่อค่าจ้าง • แรงงานต่างชาติสร้างแรงกดดันในทางลบต่อค่าจ้างหรือไม่ • ผลต่องบประมาณ • มีผลอย่างไรต่อรายรับของรัฐ ค่าใช้จ่ายเงินโอน และ บริการสาธารณะ