310 likes | 967 Views
อัตราส่วนตรีโกณ. และการนำไปใช้. นายสุรชัย สุขรี. (Trigonometry Ratio). พัฒนาโดย . โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อ.พล จ.ขอนแก่น. องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. โครงสร้าง. พัฒนาการของตรีโกณมิติ. รู้จักสามเหลี่ยมมุมฉาก. รู้จักค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติ. เนื้อหา. อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม.
E N D
อัตราส่วนตรีโกณ และการนำไปใช้ นายสุรชัย สุขรี (Trigonometry Ratio) พัฒนาโดย โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อ.พล จ.ขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
โครงสร้าง พัฒนาการของตรีโกณมิติ รู้จักสามเหลี่ยมมุมฉาก รู้จักค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติ เนื้อหา อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ตรีโกณมิติ...กับความยาวด้าน ตรีโกณมิติ...กับการนำไปใช้ menu
Episode1 พัฒนาการของตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า “trigonometry” มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ “trigono : three angles” และ “metron : measure” (Anon., 2009c) ตรีโกณมิติเป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมุม สามเหลี่ยม และฟังก์ชันตรีโกณมิติต่าง ๆ เช่น ฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์ และฟังก์ชันแทนเจนต์ ตรีโกณมิติมีความสัมพันธ์บางอย่างกับเรขาคณิต ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้องกับอัตราส่วนของด้านของสามเหลี่ยมที่คล้ายกันเป็นที่รู้จักและใช้กันมาตั้งแต่สมัยชาวอียิปต์โบราณและชาวบาบิโลเนียนเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ตรีโกณมิติในสมัยต่อมามีความสำคัญในการศึกษาทางด้านภูมิศาสตร์ การสร้างแผนที่ การสำรวจ และสาขาอื่น ๆ อีกมาก menu
1 พีทาโกรัสแห่งซามอส...และผลงานชิ้นเอก Pythagoras of Samos(ประมาณ 580 – 496 ปีก่อนคริสต์ศักราช) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก เกิดที่เมืองอีเจียน เกาะซามอส พีทาโกรัสเป็นผู้ก่อตั้งสำนักพีทาโกเรียน ที่เมืองโครโทนา เป็นที่รู้จักในฐานะผู้พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส พีทาโกรัสแห่งซามอส และผลงานชิ้นโดดเด่น คือ “ ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ” menu
9 เงาก็ใช้...คำนวณความสูงของวัตถุได้จริงหรือ.. ทาเลสแห่งมิเลตุส (Thales of Miletus, 640-546 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ทาเลสแห่งมิเลตุส นักปราชญ์ชาวกรีก จากเมืองมิเลตุส ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี ทาเลสได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลแรกที่คำนวณความสูงของพีรามิดโดยใช้แสงเงา เขายังมีผลงานด้านเรขาคณิต ดาราศาสตร์ การเดินเรือ นอกจากนี้ทั้งอริสโตเติลและเบอร์แทรนด์ รัสเซลล์ ต่างยกย่องให้ทาเลสเป็นบุคคลคนสำคัญด้านปรัชญา menu
16 Episode2 รู้จักสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก คือ รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งมุมเท่ากับ 90 องศา ส่วนประกอบของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีดังนี้ B ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม A A C ด้านประชิดมุม A menu
20 ทำความรู้จักสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียกชื่อมุม และด้านกรณีเขียน มุม และด้านต่างกัน มุม B เป็นด้านตรงข้ามมุม Aหรือด้านประชิดมุม B B a ด้านตรงข้ามมุมฉาก มุมฉาก A b มุม A ด้านประชิดมุม Aหรือด้านตรงข้ามมุม B menu
21 สรุปการเรียกชื่อมุม และด้านในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก B เมื่อยึดมุมA เป็นหลัก เรียกAB ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากให้ยาวc หน่วย เรียกBC ว่าด้านตรงข้ามมุมA ให้ยาวa หน่วย เรียกACว่าด้านประชิดมุม A ให้ยาวb หน่วย c a A C b • เมื่อยึดมุมB เป็นหลัก B เรียกAB ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากให้ยาวc หน่วย เรียกAC ว่าด้านตรงข้ามมุมB ให้ยาวb หน่วย เรียก BCว่าด้านประชิดมุม B ให้ยาวa หน่วย c a menu A C b
28 Episode3 รู้จักค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติ • ค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติ คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งจะมีดังนี้ tanA= cosA= sin A= ด้านประชิดมุม ด้านตรงข้ามมุม ด้านตรงข้ามมุม ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านประชิดมุม ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม ด้านประชิดมุม ด้านตรงข้ามมุม ด้านประชิดมุม cot A = secA = cosec A= menu
30 ทำความรู้จัก...อัตราส่วนตรีโกณมิติ Cosine (โคไซน์) เขียนย่อ cos (คอส) cosine • cotangent tangent sine • cosecant secant ค่าต่างๆ...ก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio) หมายถึง อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้ • Cosecant(โคเซแคนท์) ย่อcosec (โคเซค) • Tangent(แทนเจนท์)เขียนย่อtan (แทน) • Secant(เซแคนท์) เขียนย่อsec (เซค) • Sine (ไซน์) เขียนย่อsin (ไซน์) • Cotangent(โคแทนเจนท์) เขียนย่อcot (คอท)
33 สรุป...อัตราส่วนตรีโกณมิติ...ง่ายๆๆ... โดยที่sinA = ข้ามดังนั้น cosecA = ฉาก ฉากข้าม cosA = ชิดดังนั้นsecA = ฉาก ฉากชิด tanA = ข้ามดังนั้น cot A = ชิด ชิดข้าม • ข้อตกลงข้ามในที่นี้หมายถึงด้านตรงข้ามมุม A • ฉาก ในที่นี้หมายถึง ด้านตรงข้ามมุมฉาก • ชิดในที่นี้หมายถึง ด้านประชิดมุม A
37 เมื่อยึดมุมหลักต่างกัน... สังเกตค่าตรีโกณกันดีๆๆ.. เมื่อยึดมุมA เป็นหลัก B sin A= cos A= tan A= 13 12 cosec A= sec A= cot A= A C 5 B • เมื่อยึดมุมB เป็นหลัก sin B= cos B= tan B= 12 13 cosec B= sec B= cot B= A C 5
49 Episode4 ค่าตรีโกณมิติของมุม มุม () 1 1 2 3 = 2 2 2 2 1 2 3 1 = 2 2 2 2 1 3 = 1 3 3 3 1 3 = 1 3 3 3 2 2 3 = 2 2 3 3 2 menu 2 3 = 2 2 3 3
58 ค่าตรีโกณมิติของมุม 1 • ยึดมุม A = 30oค่าตรีโกณ มุม 30o • ยึดมุม C = 60oค่าตรีโกณ มุม 60o sin 30o = 3 sin 60o = 2 2 1 cos 60o = 3 cos 30o = 2 A 2 3 tan 60o = 1 3 3 tan 30o= = 30o 2 3 3 3 cot 30o = 1 3 = cot 60o = 60o D C 3 3 3 2 2 sec 30o = = sec 60o = 2 3 3 1 2 2 3 csc 60o = csc 30o = 2 = 3 3
67 ตรีโกณของมุม 45 ได้ค่าตรีโกณมิติใน ABC คือ 1 2 sin A = sin C = sin 45o = = 2 2 A 2 1 cos A = cos C = cos 45o = = 45o 2 2 2 1 tan A = tan C = tan 45o = 1 45o B C cot 45o = cot A = cot C = 1 1 sec 45o = sec A = sec C = 2 csc A = csc C = csc 45o = 2
สรุปค่าตรีโกณมิติ....จำให้แม่นสรุปค่าตรีโกณมิติ....จำให้แม่น 69 มุม () ธนาคารความรู้ 1 1 2 3 = 2 2 2 2 1 2 3 1 = 2 2 2 2 1 3 = 1 3 3 3 1 3 = 1 3 3 3 2 2 3 = 2 2 3 3 2 2 3 = 2 2 3 3
72 ฝึกใช้ฝ่ามืออรหันต์ ฐานความช่วยเหลือ 30oหักนิ้วชี้ cos30o sin30o ขวา ซ้าย ซ้าย 3 1 3 1 1 1 = = = = = = = = = 3 2 2 2 2 2 3 3 ขวา "sin- ดูฝั่งซ้าย “cos- ดูฝั่งขวา tan30o
73 ฝึกใช้ฝ่ามืออรหันต์ ฐานความช่วยเหลือ cos30o 45o sin30o ซ้าย ขวา ซ้าย 2 2 1 2 1 = = = = = = = = 2 2 2 2 2 ขวา 2 2 1 = tan30o
74 ฝึกใช้ฝ่ามืออรหันต์ ฐานความช่วยเหลือ cos30o 60o sin30o ขวา ซ้าย ซ้าย 3 1 3 3 1 = = = = = = = = = 3 2 2 2 2 2 1 ขวา 1 "sin- ดูฝั่งซ้าย “cos- ดูฝั่งขวา tan30o
Episode5 ตรีโกณมิติกับความยาวด้าน เราสามารถหาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติในกรณีที่ความยาวด้านหายไป 1ด้าน ตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ใช้ความรู้เรื่องทฤษฎีพีทาโกรัสหาความยาวด้าน ที่เหลือของสามเหลี่ยมมุมฉาก ขั้นที่ 2 หาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้บทนิยาม ขั้นที่ 3 แทนค่าความยาวด้านที่ได้จากขั้นที่ 1 ลงใน อัตราส่วนที่ได้ในขั้นที่ 2 ขั้นที่ 4 หากอัตราส่วนที่ได้ในขั้นที่ 3 มีตัวส่วนติดกรณฑ์ ให้ทำส่วนไม่ติดกรณฑ์ menu menu
77 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AB ยาว 24 หน่วย มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน AC วิธีทำ โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน AC B ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน AC 24 AC ชิดมุมA A ฉาก = เทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ AB ข้ามฉาก A C 60๐ AC แทนค่า cos 60๐ = แทนค่า cos 60๐ ชิด 24 AC 1 = 24 2 12 1 × 24 1 AC = ชิดมุม = 2 2 ข้ามฉาก 1 AC 12 = ด้าน AC ยาว 12 หน่วย
78 มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AB ยาว 8 หน่วย จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน BC วิธีทำ โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC B ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน BC ฉาก 8 ข้ามมุม BC ข้ามA = เทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ AB ฉาก A C 60๐ BC แทนค่า sin 60๐ แทนค่า sin 60๐ = 8 BC 3 = 8 2 4 3 × 8 3 BC = ข้ามมุม = 2 2 ข้ามฉาก 1 BC 43 = ด้าน BC ยาว 43 หน่วย
79 จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เป็น มุมฉาก ด้าน AC ยาว 12 หน่วย มุมA เท่ากับ 60 องศา จงหาความยาวของด้าน BC วิธีทำ โจทย์ถามหา ความยาวของด้าน BC B ต่อด้วยด้านที่ รู้ค่าแล้ว เริ่มด้วย เขียนอัตราส่วนที่มีด้าน BC ข้าม BC ข้ามมุมA = เทียบ ชื่ออัตราส่วนตรีโกณมิติ AC ชิดมุม A 60๐ A C BC แทนค่า tan 60๐ 12 = แทนค่า tan 60๐ ชิด 12 BC 3 = 12 1 3 × 12 3 BC = ข้ามมุม = 1 1 ชิดมุม BC 123 = ด้าน BC ยาว 123 หน่วย ตอบ
82 Episode6 ตรีโกณมิติกับการนำไปใช้ menu