1 / 66

เชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม

ไฟฟ้าสถิต. ( static electricity ). เชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม. ฟ้าแลบฟ้าผ่า. ไฟฟ้าสถิต ( Electrostatics ).  ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า. 1. นักเรียนคิดว่าปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดจากสาเหตุใด. 2.

sema
Download Presentation

เชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟฟ้าสถิต (static electricity) • เชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม

  2. ฟ้าแลบฟ้าผ่า ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า 1 นักเรียนคิดว่าปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดจากสาเหตุใด

  3. 2 ไฟฟ้าสถิต เป็นปรากฏการณ์ อันเนื่องมาจากการมีอยู่ หรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ธาลีส นักปราชญ์ชาวกรีก เป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรก โดยนำแท่งอำพันมาถูกกับผ้าขนสัตว์ แล้วแท่งอำพันจะมีอำนาจไฟฟ้าสามารถดูดวัตถุเบาๆ ได้

  4. 3 ไฟฟ้าสถิต

  5. Charge ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  อำนาจไฟฟ้า 4 ตัวการที่ทำให้หวีและลูกโป่งดูดวัตถุได้คืออะไร

  6. ชนิด มวล (kg) ประจุไฟฟ้า(C)โปรตอน 1.67x10-27 +1.6x10-19นิวตรอน 1.67x10-27กลางอิเล็กตรอน 9.1x10-31 -1.6x10-19 ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  สภาพทางไฟฟ้า 5 ปกติวัตถุเป็นกลางทางไฟฟ้า จะแสดงอำนาจไฟฟ้า เมื่อมีการเสีย หรือได้รับอิเล็กตรอน

  7. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ประจุไฟฟ้า (charge) 6 เป็นตัวการที่ทำให้วัตถุมีอำนาจไฟฟ้า ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก (โปรตอน) และประจุไฟฟ้าลบ (อิเล็กตรอน) สมบัติของประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน ส่วนประจุต่างชนิดกันจะดึงดูดกัน

  8. ปุ่มโลหะ ฉนวน ก้านโลหะ กล่องโลหะ แผ่นโลหะทองคำ ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  อิเล็กโตรสโคป 7 เป็นอุปกรณ์ตรวจสอบว่า 1. วัตถุมีประจุไฟฟ้าหรือไม่ 2. ชนิดของประจุไฟฟ้า 3. วัตถุเป็นตัวนำหรือฉนวน

  9. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  กฏอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า 8 ประจุไฟฟ้าที่มีอยู่ในธรรมชาติ ไม่อาจทำให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ การทำให้วัตถุมีประจุอิสระชนิดบวก หรือลบ จึงเป็นการเคลื่อนย้าย ถ่ายเทประจุทั้งหมดของระบบที่ พิจารณา ผลรวมของจำนวนประจุ ทั้งหมดของระบบยังคงเท่าเดิม

  10. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า 9 วัตถุที่ได้รับการถ่ายโอน อิเล็กตรอนแล้วอิเล็กตรอน ที่ถูกถ่ายโอนสามารกระจาย ไปได้ตลอดเนื้อวัตถุ วัตถุที่ได้รับการถ่ายโอน อิเล็กตรอนแล้วอิเล็กตรอน ยังคงอยู่บริเวณเดิม

  11. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า 10 • 1. การขัดถู • นำวัตถุที่ต่างชนิด มาขัดถูกัน • 1. ขนสัตว์ 2. ขนแกะหรือผ้าสักหลาด 3. ไม้ • 4. เชลแล็ก 5. ยางสน 6. ครั่ง 7. แก้วผิวเกลี้ยง • 8. ผ้าฝ้ายหรือสำลี 9. กระดาษ 10. ผ้าแพรเลี่ยน • 11. แก้วผิวขรุขระ 12. ผิวหนัง 13. โลหะต่างๆ • 14. ยางอินเดีย 15. อำพัน 16. กำมะถัน • 17. อิโบไนต์ 18. ยาง Gutta – percha • 19. ผ้าแพร Amalgamated 20. เซลลูลอยด์

  12. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า 11 • 1. การขัดสี • เมื่อนำวัตถุที่มีหมายเลขลำดับน้อยมาถูกับวัตถุที่มี หมายเลขลำดับมากกว่า • วัตถุที่มีหมายเลขลำดับน้อยกว่า จะปรากฏ • ประจุไฟฟ้าบวกอิสระ • ส่วนวัตถุที่มีหมายเลขลำดับมากกว่า จะปรากฏ • ประจุไฟฟ้าลบอิสระ การขัดสี จะเกิดประจุต่างชนิดกันที่วัตถุที่ขัดสีกัน

  13. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า 12 • 2. การแตะ • วัตถุตัวนำที่มีประจุ(อิสระ) แตะวัตถุที่ • เป็นกลาง จะเกิดการถ่ายเทประจุ ก่อนแตะ หลังแตะ การแตะ จะเกิดประจุชนิดเดียวกับวัตถุที่ถ่ายเท

  14. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics) ตัวอย่าง1 ตัวนำรูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 2r ตามลำดับ ถ้าต้องนำ A มีประจุ Q และตัวนำ B มีประจุ -2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัวนำ A1. -Q 2. -Q/2 3. -2Q/3 4. -Q/3 12.1 √ ตัวอย่าง2 ทรงกลมตัวนำสองลูก ลูกที่หนึ่งมีรัศมี 10 cm มีประจุไฟฟ้า Q ส่วนลูกที่สองมีรัศมี 5 cm มีประจุเป็นกลาง เมื่อนำทรงกลมทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออก อัตราส่วนของประจุลูกที่หนึ่งต่อประจุลูกที่สองจะเป็นเท่าใด1. 1 2. 2 3. 3 4. -Q/3 √

  15. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า 13 B 3. การเหนี่ยวนำ A 1. นำวัตถุที่มีประจุ(A) เข้าใกล้ B 2. ต่อสายดิน 3. ปลดสายดิน 4. นำวัตถุ A ออกห่าง B 1 2 Earth 3 การเหนี่ยวนำ จะเกิดประจุที่ B ตรงข้าม A 4 B

  16. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า 14 3. การเหนี่ยวนำ การเหนี่ยวนำ จะเกิดประจุชนิดตรงข้ามกับประจุที่นำมาเหนี่ยวนำ

  17. แท่งยาง แท่งยาง แท่งแก้ว แท่งยาง ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  แรงระหว่างประจุ 15 แรงระหว่างประจุ จะเป็นได้ทั้งแรงดูดและแรงผลัก

  18. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  แรงระหว่างประจุ 16 ประจุชนิดเดียวกัน ผลักกัน ประจุต่างชนิดกัน ดึงดูดกัน

  19. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  แรงระหว่างประจุ 17 • กฎของคูลอมบ์ ตัวกลาง เป็นอากาศ หรือสุญญากาศ

  20. 2. จากรูป จงหาแรงกระทำต่อประจุ +2x10-3 C +4x10-4 C 3 m -3x10-4 C +2x10-3 C 3 m ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะแรงระหว่างประจุ 18 1. จากรูป จงหาแรงกระทำต่อประจุ -3x10-9 C 3 cm 3 cm 3 cm +2x10-9 C -3x10-9 C +4x10-9 C -1x10-9 C

  21. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะแรงระหว่างประจุ 19 3. ทรงกลมตัวนำ 2 อัน แต่ละอันมีรัศมี 1 cm ทรงกลมอันแรกมีประจุไฟฟ้า 3 x 10-5 C อันหลังมีประจุไฟฟ้า -1 x 10-5 C เมื่อให้ ทรงกลมทั้งสองแตะกัน แล้วแยกนำไปวาง ให้ผิวทรงกลมทั้งสองห่างกัน 8 cm ขนาดของแรงระหว่างทรงกลม ทั้งสองเป็นเท่าใด

  22. + - 20  เส้นแรงไฟฟ้า (electric field lines) จุดประจุลบ จุดประจุบวก เป็นเส้นสมมติ ใช้บอกทิศของสนามไฟฟ้ามีทิศออกจากประจุบวก และเข้าหาประจุลบ

  23. เส้นแรงไฟฟ้าระหว่าง ประจุชนิดเดียวกัน เส้นแรงไฟฟ้าระหว่าง ประจุต่างชนิดกัน ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics) 21  เส้นแรงไฟฟ้า (electric field lines)

  24. F F +q +Q E -q +q -q ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  สนามไฟฟ้า (electric field) 22 เป็นบริเวณที่เมื่อนำประจุทดสอบไปวางแล้ว จะเกิดแรงกระทำต่อประจุทดสอบนั้น ทิศของสนามไฟฟ้า จะมีทิศเดียวกับแรงที่ กระทำต่อประจุทดสอบ ที่เป็นประจุบวก

  25. F F สนามไฟฟ้า กรณีนี้ หาจาก ความสัมพันธ์ -q -Q E +q E = -q +q ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  สนามไฟฟ้า (electric field) 23 เป็นบริเวณที่เมื่อนำประจุทดสอบไปวางแล้ว จะเกิดแรงกระทำต่อประจุทดสอบนั้น

  26. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 24 1. จากรูป จงหาขนาดและทิศของสนามไฟฟ้าที่ B -4x10-3 C A BF=20x103 N 2. วัตถุเล็ก ๆ อันหนึ่งมีประจุไฟฟ้า -5x10-9 C เกิดแรงกระทำ 20 x10-9 N ในทิศลงล่าง เมื่อวางไว้ที่จุด ๆ หนึ่ง ในสนามไฟฟ้า ถ้านำ อิเล็กตรอนไปไว้แทนที่วัตถุนี้จะเกิดแรงกระทำ ต่ออิเล็กตรอนเท่าใด

  27. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 25 3. ทรงกลม A มีมวล 0.1732 g ผูกด้วยสายไหม ตรึงไว้ที่จุด O ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ 2 x 105 N/C ปรากฏว่าเส้นไหมทำมุม 30o กับแนวดิ่ง ดังรูป ขนาดและชนิดของประจุของทรงกลม A มีค่าเท่าใด E 30o A

  28. F +Q E E = สนามไฟฟ้า กรณีนี้ หาจาก ความสัมพันธ์ ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  สนามไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ 26 เป็นการพิจารณาสนามไฟฟ้าที่ระยะห่าง จากประจุที่ส่งสนามไฟฟ้า q

  29. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 27 1. จากรูป จงหาขนาดและทิศของสนามไฟฟ้าที่ O +5x10-6 C +2.5x10-6 C A O B 5 cm 20 cm 2. ประจุ +Q และประจุ +4Q วางห่างกันเป็น ระยะ 1 เมตร จงหาตำแหน่งของจุดสะเทิน

  30. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 28 3. ทรงกลมตัวนำ 2 อัน มีเส้นผ่าศูนย์กลางอันละ 4 cm ทรงกลมอันแรกมีประจุไฟฟ้า +20 C อันหลังมีประจุไฟฟ้า -5 C วางให้ผิวทรงกลม ทั้งสองห่างกัน 16 cm ตำแหน่งที่สนามไฟฟ้า เป็นศูนย์อยู่ ณ ตำแหน่งใด

  31. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 29 Q1 Q2 a 4. ประจุ Q1, Q2และ Q3 วางไว้ที่มุม 3 มุมของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ a ดังรูป ถ้า ประจุ Q1= Q3 = +Q ประจุ Q2 จะต้องเป็นประจุ ชนิดใดและมีขนาดเท่าใด จึงจะทำให้สนาม ไฟฟ้าที่จุด P ซึ่งอยู่ที่มุมที่ว่างอยู่มีค่าเป็นศูนย์ a P Q3

  32. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 30 C A 3 cm 5. จากรูป จุดประจุ -6x10-6 C และ +10x10-6 C วางอยู่ห่างกัน 4 cm ที่ตำแหน่ง A และ B ตามลำดับ สนามไฟฟ้าที่จุด C มีขนาดเท่าใด -6x10-6 C 4 cm +10x10-6 C B

  33. + + + + + + + + + + + - - - - x C D E E V y - - - - - - - V E = สนามไฟฟ้า กรณีนี้ หาจาก ความสัมพันธ์ ฟิสิกส์พื้นฐาน (Basic Physics) 31  สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะขนาน A B d A d B

  34. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 32 1. แผ่นโลหะขนานขนาดเท่ากัน วางห่างกัน 3 mm ถ้าต่อแผ่นโลหะขนานคู่นี้เข้ากับแบตเตอรี่ 9 V จงหาสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะขนานคู่นี้ 2. แผ่นโลหะขนานสองแผ่น วางห่างกันเป็นระยะ d มีประจุไฟฟ้า +Q และ -Q ตามลำดับ ถ้าอนุภาค มีมวล m ประจุไฟฟ้า -2q หลุดออกจากแผ่นลบ และวิ่งด้วยความเร่ง 3g ไปยังแผ่นบวก จงหา ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะขนาน

  35. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 33 3. A B อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนาม ไฟฟ้าสม่ำเสมอ 5x104 N/C จาก A ไป B ดังรูป ถ้าการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ ทำให้ อนุภาคโปรตอนดังกล่าว มีพลังงานจลน์ เปลี่ยนไป 2x10-15 J จงหาระยะทางจาก A ไป B E = 50 000 N/C

  36. E = E = E = E = E = 0 ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม 34 ระยะทาง ระยะทาง

  37. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะสนามไฟฟ้า 35 1. ตัวนำทรงกลมมีรัศมี 10 cm มีประจุกระจาย อย่างสม่ำเสมอบนผิวตัวนำ ถ้าทรงกลมมีประจุ 5.5x10-6 C จงหา 1. สนามไฟฟ้าที่ผิวตัวนำทรงกลม 2. สนามไฟฟ้าที่ระยะห่างจุดศูนย์กลาง ตัวนำทรงกลม 5 cm 3. สนามไฟฟ้าที่ระยะห่างจากผิวตัวนำ ทรงกลม 15 cm

  38. m mg g - Q h r E FE โลก + q ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  พลังงานศักย์ไฟฟ้า 36 พลังงานศักย์โน้มถ่วง EP = mgh พลังงานศักย์ไฟฟ้า EP = qEr

  39. VA VBA B ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ศักย์ไฟฟ้า 37 หมายถึง พลังงานศักย์ไฟฟ้าต่อ 1 หน่วยประจุหาจากความสัมพันธ์ ความต่างศักย์ไฟฟ้า เป็นผลต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด

  40. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะพลังงานศักย์ไฟฟ้า 38 1. ถ้านำประจุไฟฟ้าขนาด +2 C ไปวาง ณ จุด ที่มีศักย์ไฟฟ้า 0.9x107 V จงหาพลังงานศักย์ ไฟฟ้า ณ จุดนี้ 2. การเกิดฟ้าผ่าครั้งหนึ่ง ปรากฏว่ามีการถ่ายเท ประจุไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆและพื้นดิน 40 C ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆและ พื้นดินมีค่า 8.0x106 V พลังงานศักย์ไฟฟ้า ที่เกิดขึ้นเนื่องจากฟ้าผ่าครั้งนี้มีค่าเท่าใด

  41. FE A B q + สมการการเคลื่อนที่ของ ประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า qV = EK ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าใน E 39 E EA = EB VA > VB ประจุไฟฟ้าบวก จะเคลื่อนที่จากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำ สนามไฟฟ้า มีทิศชี้จากตำแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังตำแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำ

  42. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะการเคลื่อนที่ของประจุใน E 40 1. อิเล็กตรอนถูกเร่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้า 100 V ความเร็วของอิเล็กตรอนเป็นเท่าใด 2. โปรตอนมวล 1.67x10-27 kg มีประจุไฟฟ้า 1.6x10-19 C เริ่มต้นเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งจาก A ไป B ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่ A สูงกว่าที่ B เท่ากับ 100 V อัตราเร็วของโปรตอนขณะผ่านจุด B เป็นเท่าใด

  43. A +Q V = ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ หาจากความสัมพันธ์ ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ 41 E

  44. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะศักย์ไฟฟ้า 42 +6x10-9 C 1. จุด A,B,C และ D เป็นจุดเรียงกันบนแนวเส้นตรง เดียวกัน ดังรูป ถ้ามีประจุ +6x10-9 C วางไว้ที่ A จงหาศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุนี้ A B C D 20 cm 20 cm  2. วางประจุ 3x10-4 C ที่ตำแหน่ง X=-2 m,Y=0 m และประจุลบขนาดเท่ากันที่ตำแหน่ง X=0 m , Y=-3 m จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุด (0,0)

  45. V = V = V = V = ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม 43 ระยะทาง ระยะทาง

  46. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะศักย์ไฟฟ้า 44 1. ตัวนำทรงกลม มีรัศมี 60 cm มีประจุ 20 C จงหา 1. ศักย์ไฟฟ้าที่ผิวตัวนำทรงกลม 2. ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่าง 10 cm จาก จุดศูนย์กลางของตัวนำทรงกลม 3. ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะ 30 cm จากผิวตัวนำ ทรงกลม

  47. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะศักย์ไฟฟ้า 45 E (N/C) 2. ตัวนำทรงกลมมีรัศมี 10 cm มีประจุกระจาย อย่างสม่ำเสมอบนผิวตัวนำ ถ้ากราฟแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดสนามไฟฟ้า (E)กับ ระยะจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม (r) มีค่า ดังรูป ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะ 5 cm มีค่าเท่าใด 5x106 0 10 r (cm)

  48. A vA= vB= rA rB B + q Q + ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  งานในการย้ายประจุไฟฟ้า 46 งานในการย้ายประจุไฟฟ้าจะไม่ขึ้นกับเส้นทางในการย้ายประจุ

  49. ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)  โจทย์ฝึกทักษะงานในการย้ายประจุ 47 1. จุด A อยู่ห่างจากจุดประจุ +8 nC เป็นระยะ 90 cm และจุด B อยู่ห่างจากประจุ +8 nC เป็นระยะ 160 cm จงหา 1. งานในการย้ายประจุ +4 C จากจุด B ไปยังจุด A 2. งานในการย้ายประจุ - 6 C จาก ระยะอนันต์มายังจุด A

More Related