210 likes | 448 Views
รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย. โดย. นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อำนวยการกองโภชนาการ. 18 มิถุนายน 2552. 1. สรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ. กลุ่มวัย. ปัญหาโภชนาการ. ตัวชี้วัดที่ใช้ในระบบเฝ้าระวัง. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
E N D
รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการรายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย โดย นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อำนวยการกองโภชนาการ 18 มิถุนายน 2552 1
สรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการสรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ กลุ่มวัย ปัญหาโภชนาการ ตัวชี้วัดที่ใช้ในระบบเฝ้าระวัง • อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ • ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์ • ร้อยละของครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ • ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะต่ำกว่ามาตรฐาน (น้อยกว่า 150) หญิงตั้งครรภ์ ภาวะการขาดสารไอโอดีน • ร้อยละของความครอบคลุมเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูงและสูงกว่ามาตรฐานรวมกัน • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีรูปร่างสมส่วน เด็กแรกเกิด – 72 เดือน เตี้ย, อ้วน ภาวะการขาดสารไอโอดีน • ร้อยละของความครอบคลุมเด็กอายุ 6-18 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูงและสูงกว่ามาตรฐานรวมกัน • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีรูปร่างสมส่วน อ้วน เด็กวัยเรียน 6-18 ปี • ร้อยละของชายไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. • ร้อยละของหญิงไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. วัยทำงาน อ้วน 2
มาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ 1. การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปี 3 อ. อาหาร : ลดหวานมันเค็ม กินผักผลไม้ เมนู 211 ออกกำลังกาย : เป็นประจำวันละ 30 นาที 5 วัน/สัปดาห์ อารมณ์ : มุ่งมั่น ข่มใจไม่ให้กินเกิน 2. การเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน - เกลือและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมไอโอดีน - ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะ เน้นการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน/โรงเรียน บริโภคไข่ไอโอดีนในโครงการอาหารกลางวัน 3. การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี เด็กเตี้ย: โภชนศึกษา, ให้อาหารเสริม เน้นอาหารที่ให้พลังงาน, แคลเซียม, โปรตีนคุณภาพดี ฯลฯ เด็กอ้วน: โภชนศึกษา, ให้อาหารลดพลังงาน, ไขมัน งดขนมขบเคี้ยว, ขนมหวาน, ขนมทอด, ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ 3
ระบบเฝ้าระวังทางโภชนาการระบบเฝ้าระวังทางโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2552 กองโภชนาการได้ดำเนินการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ 3 ระบบ คือ 1. ระบบเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป 2.ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน 3. ระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ และ การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี 4
ระบบเฝ้าระวังภาวการณ์ขาดระบบเฝ้าระวังภาวการณ์ขาด สารไอโอดีนในประชาชนไทย 2. • การเฝ้าระวังในคน • การเฝ้าระวังในเกลือ 5
การเฝ้าระวังในคน • ระบบการเฝ้าระวังภาวการณ์ขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ โดยสุ่มสำรวจปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์ สุ่ม 15 จังหวัด/ปี ( Cyclic Monitoring) ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 6
ระดับสารไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2549 9
ระดับสารไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2550 10
ระดับสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2551 12
กรมอนามัยพัฒนาการตรวจไอโอดีนในปัสสาวะ • ในห้องปฏิบัติการของ • กองโภชนาการ • ห้องปฏิบัติการศูนย์อนามัยที่ 4, 6, 10 13
การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน • การควบคุมคุณภาพโดยบุคคลภายนอก • สสจ. • ศูนย์อนามัย • กองโภชนาการ การเฝ้าระวังในเกลือ • ครัวเรือน • ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีน • การสำรวจคุณภาพเกลือ (วันไอโอดีน) 14
จำนวนจุดผลิตที่ได้ที่ได้รับ Nutrition seal ในแต่ละช่องหมายถึง จำนวนโรงงานที่ได้รับ nutrition seal ในแต่ละภาค/จำนวนโรงงานทั้งหมดในแต่ละภาค 16 N หมายถึงจำนวนโรงงานที่ได้รับ nutrition seal
ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐานความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน (ข้อมูล สำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข) คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน 17 (ข้อมูลวันรณรงค์ไอโอดีนแห่งชาติ)
2. การแก้ไขปัญหา กองโภชนาการดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง ดังนี้ 2.1 ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาภาวะการขาดสารไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตและกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยมีการบริหารจัดการที่มีความต่อเนื่องยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผลโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการ บริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษา วิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะเฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่น 18
2.2 มาตรการแก้ไขภาวะการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และสมาชิกในครัวเรือนไทย ( 20 ล้านครัวเรือนทั่วไทย ) • - โดยเน้นระดับพื้นที่ • 2.2.1 โรงงานผลิตเกลือเสริมไอโอดีน เน้นคุณภาพการผลิต (Quality Control) • เกลือเสริมไอโอดีนในโรงงานทุกขนาด (ใหญ่, กลาง, เล็ก) และขนาดเล็กปรับบทบาทเป็นผู้ค้าปลีก (Repacked) • 2.2.2 ร้านค้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริมไอโอดีน • เกลือเสริมไอโอดีน • น้ำปลาเสริมไอโอดีน • ไข่ไอโอดีน • บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป (เสริมธาตุเหล็ก, วิตามินเอ และไอโอดีน) • โดยกรมอนามัยเป็นผู้ออกตราสัญลักษณ์ “อาหารเพิ่มสารไอโอดีน” (Nutrition Seal) 19
2.2.3 ครัวเรือน สุ่มตรวจคุณภาพเกลือให้มีไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ส่วนในล้านส่วน พร้อมทั้งติดตามประเมินความครอบคลุมของเกลือเสริมไอโอดีน ในระดับครัวเรือน (Household Coverage) โดยผ่านระบบรายงาน e-inspection ของสำนักตรวจราชการ • - โดยเน้นระดับบุคคล • การให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการและแหล่งของไอโอดีนแก่ประชาชนทั่วไป • หญิงตั้งครรภ์ : ยาเม็ดวิตามินเสริมไอโอดีน • เด็กวัยก่อนเรียน / วัยเรียน : ไขไอโอดีนในอาหารกลางวัน 20