1 / 40

การกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อ กายภาพบำบัด

การกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อ กายภาพบำบัด. รศ. ดร. สมชาย รัตนทองคำ. สาย วิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กระแส / เครื่องกระตุ้นฯ ที่ ใช้ในปัจจุบัน. Galvanic Current (DC, True DC) IDC (Interrupted Direct Current ) Diady (Diadynamic Current)

sela
Download Presentation

การกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อ กายภาพบำบัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อกายภาพบำบัดการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าเพื่อกายภาพบำบัด รศ.ดร.สมชาย รัตนทองคำ สายวิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. กระแส/เครื่องกระตุ้นฯที่ใช้ในปัจจุบันกระแส/เครื่องกระตุ้นฯที่ใช้ในปัจจุบัน • Galvanic Current (DC, True DC) • IDC (Interrupted Direct Current) • Diady (Diadynamic Current) • TENS (Transcutaneous Electrical Nerve Stimulation) • High Voltage (High Voltage Galvanic Current) • IFC (Interferential Current) • โปรแกรมอัตโนมัติ/กดปุ่ม • etc ...

  3. ประเด็นวันนี้ • ลักษณะเฉพาะของกระแสฯ • ผลทางสรีรวิทย และผลการรักษา • แนวทางการประยุกต์ใช้ทางคลินิก • อภิปรายร่วมกัน

  4. กระแสไฟตรงGalvanic, DC

  5. กระแสไฟตรงDC/Galvanic ลักษณะเฉพาะ • ช่วงกระตุ้นยาวไม่มีช่วงพัก • มีกระแสเฉลี่ยค่อนข้างสูง • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี: กรด-ด่าง • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-ความร้อน

  6. กระแสไฟตรงDC/Galvanic ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • ชา, แสบ, ร้อน, คัน • ไม่มี/ไม่เห็น การหดตัวของกล้ามเนื้อ • เกิดผื่นแดงใต้ขั้วกระตุ้น ลักษณะเฉพาะ • ช่วงกระตุ้นยาวไม่มีช่วงพัก • มีกระแสเฉลี่ยค่อนข้างสูง • ปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี: กรด-ด่าง • ปฏิกิริยาไฟฟ้า-ความร้อน

  7. ลักษณะเฉพาะ • ช่วงกระตุ้นยาวไม่มีช่วงพัก • มีกระแสเฉลี่ยค่อนข้างสูง • ปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี: กรด-ด่าง • ปฏิกิริยาไฟฟ้า-ความร้อน กระแสไฟตรงDC/Galvanic ผลสรีรวิทยา/ข้อควรระวัง/การประยุกต์ใช้ • ชา: ระงับปวด • ไม่เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ • คัน, ร้อน, แดง, ไหม้พอง: ความร้อน, กรดด่าง • ดึงน้ำออกจากเซลล์: ลดบวม+, นุ่ม- • ผลักดันตัวยาผ่านผิวหนัง: ผลของขั้ว • ลดศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์: depolarization • เสริมกระบวนการซ่อมแซมฯ: ผลของขั้ว

  8. กระแสไฟตรง: iontophoresis เทคนิคเฉพาะ/หลักการ • การผลักดันตัวยาในรูปประจุ/สารละลาย • ผ่านผิวหนัง ทางต่อมเหงื่อ • ประจุเหมือนกันจะผลักกัน • ประจุอยู่ในรูปของสารละลาย • กระแสที่ใช้ DC, IDC • ลดปวด, ลดบวม, ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ

  9. กระแสไฟตรง: iontophoresis

  10. กระแสไฟตรง: iontophoresis

  11. กระแสไฟตรง: iontophoresis

  12. กระแสไฟตรงที่ปล่อยเป็นช่วงInterrupted Direct current,IDC

  13. กระแสไฟ IDC (Interrupted Direct Current) ลักษณะเฉพาะ • มีช่วงกระตุ้นช่วงพัก,ความถี่ (ปรับค่าได้) • ลักษณะกระแส: หลากหลาย • จังหวะการปล่อย: หลากหลาย • กระแสเฉลี่ยขึ้นกับช่วงพักและช่วงกระตุ้น • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน? • TENS, Diadynamic, HVGC, ฯลฯ

  14. ลักษณะเฉพาะ • มีช่วงกระตุ้นช่วงพัก,ความถี่ (ปรับค่าได้) • ลักษณะกระแส: หลากหลาย • จังหวะการปล่อย: หลากหลาย • กระแสเฉลี่ยขึ้นกับช่วงพักและช่วงกระตุ้น • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน? • TENS, Diadynamic, HVGC, ฯลฯ กระแสไฟ IDC(Interrupted Direct Current) ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • ชา, แสบ, ร้อน (ขึ้นกับการปรับค่า) • เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ • เกิดผื่นแดงใต้ขั้วกระตุ้น • ผลระดับเซลล์ เนื่องจากประจุ

  15. ลักษณะเฉพาะ • มีช่วงกระตุ้นช่วงพัก,ความถี่ (ปรับค่าได้) • ลักษณะกระแส: หลากหลาย • จังหวะการปล่อย: หลากหลาย • กระแสเฉลี่ยขึ้นกับช่วงพักและช่วงกระตุ้น • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน? • TENS, Diadynamic, HVGC, ฯลฯ กระแสไฟ IDC(Interrupted Direct Current) ผลสรีรวิทยา/ข้อควรระวัง/การประยุกต์ใช้ (ขึ้นกับการปรับค่าตัวแปรทางไฟฟ้า/เทคนิคการกระตุ้นฯลฯ) • กระตุ้นกล้ามเนื้อ-เส้นประสาท • หาจุดมอเตอร์/เส้นโค้งเอสดี • ฝีกการทำงานกล้ามเนื้อฯ • ระงับปวด • เพิ่มการไหลเวียน • ผลระดับเซลล์ เนื่องจากประจุ

  16. กระแสไฟฟาราดิกFaradic Current

  17. Faradic (Faradic Current) ลักษณะเฉพาะ • สมัยแรก 1960sคิดว่าสร้างจากกระแสสลับ • biphasic Symmetric • amplitude modulation (surge on-off)มีหน่วย sec • ช่วงกระตุ้น ประมาณ 1ms • กระตุ้นได้เฉพาะกล้ามเนื้อที่มีเส้นประสาทมาเลี้ยง

  18. ลักษณะเฉพาะ • biphasic Symmetric • (surge on-off)มีหน่วย sec • ช่วงกระตุ้น ประมาณ 1ms • กระตุ้นได้เฉพาะกล้ามเนื้อปกติ Faradic (Faradic Current) ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • แสบ, ร้อน (น้อยกว่า DC) • กล้ามเนื้อหดตัวเกร็งค้างเป็นจังหวะ • เกิดผื่นแดงใต้ขั้วกระตุ้น

  19. ลักษณะเฉพาะ • biphasic Symmetric • (surge on-off)มีหน่วย sec • ช่วงกระตุ้น ประมาณ 1ms • กระตุ้นได้เฉพาะกล้ามเนื้อปกติ Faradic (Faradic Current) ผลสรีรวิทยา/ข้อควรระวัง/การประยุกต์ใช้ • กระตุ้นกล้ามเนื้ปกติ เพิ่มความแข็งแรง • ลดบวม • เพิ่มการไหลเวียน • ฝีกการทำงานกล้ามเนื้อฯ • เพื่อแก้ไขแนวสันหลังคด

  20. กระแสไฟไดอะไดนามิกส์Diadynamin, diady

  21. Diady (Diadynamic Current) • ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ half wave แบบต่อเนื่อง • ช่วงกระตุ้นประมาณ50 ms • frequency moduration • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน • DF, MF, LP, CP, RS

  22. Diady(Diadynamic Current) DF MF CP CPid LP RS

  23. Diady (Diadynamic Current) ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • ชา, แสบ, ร้อน (ขึ้นกับชนิด diady) • เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ • เกิดผื่นแดง • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต • ผลระดับเซลล์ ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ half wave แบบต่อเนื่อง • ช่วงกระตุ้นประมาณ50 ms • frequency moduration • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน • DF, MF, LP, CP, RS

  24. Diady (Diadynamic Current) ผลสรีรวิทยา/ข้อควรระวัง/การประยุกต์ใช้ • ระงับปวด: ข้อแพลง • เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต: เกิดผื่นแดง • ผลระดับเซลล์ ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ half wave แบบต่อเนื่อง • ช่วงกระตุ้นประมาณ50 ms • frequency moduration • เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน • DF, MF, LP, CP, RS

  25. ขั้วกระตุ้นมือถือ ... Diady (Diadynamic Current)

  26. กระแสไฟตรงศักย์สูงHigh Voltage Current, HVC

  27. HVC (High Voltage Current) • ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ monophasic (twin pulse) • ช่วงกระตุ้นสั้นมาก0.075 ms(75S) • ช่วงกระตุ้นยาว 9.900 ms(9900S) • อัตราส่วนช่วงกระตุ้น:ช่วงพัก = 1:1000 • ไม่เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน

  28. กระแสไฟตรงศักย์สูงHVC ... 500 v, 2500 mA 0.075 ms,75s 9.900 ms,9900s 1:1000

  29. กระแสไฟตรงศักย์สูงHVC ... ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • ไม่เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี, ไม่เจ็บ • เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อปกติ • ไม่สามารถกระตุ้นกล้ามเนื้อที่ขาดเส้นประสาทมาเลี้ยงให้ตอบสนอง • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต, ลดบวม • ลดการเกร็ง, เพิ่ม ROM • ผลระดับเซลล์, ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ monophasic (twin pulse) • ช่วงกระตุ้นสั้นมาก0.075 ms(75S) • ช่วงกระตุ้นยาว 9.900 ms(9900S) • อัตราส่วนช่วงกระตุ้น:ช่วงพัก = 1:1000 • ไม่เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน

  30. กระแสไฟตรงศักย์สูงHVC ... ผลสรีรวิทยา/ข้อควรระวัง/การประยุกต์ใช้ • ระงับปวด: high frequency TENS • ฝีกกล้ามเนื้อให้แข็งแรง/ทนทาน • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต • ผลระดับเซลล์ ลักษณะเฉพาะ • IDC แบบ monophasic (twin pulse) • ช่วงกระตุ้นสั้นมาก0.075 ms(75S) • ช่วงกระตุ้นยาว 9.900 ms(9900S) • อัตราส่วนช่วงกระตุ้น:ช่วงพัก = 1:1000 • ไม่เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า-เคมี/ความร้อน

  31. กระแสไฟอินเตอร์เฟอเรนเชียลInterferential Current, IFC

  32. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ...

  33. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ... • คลื่น2 ชุดแทรกสอดกันความถี่ต่างกัน1/3 • คลื่น3 ชุด แทรกสอดกัน

  34. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ... • คลื่น2 ชุด แทรกสอดกันความถี่ต่างกัน1/3

  35. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ... • แทรกสอดกันความถี่ต่างกันมาก • แทรกสอดกันความถี่ต่างกันไม่มากเกิดบีตส์

  36. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ... • การเกิดบีตส์ของคลื่น2 ชุด, กระแส IFC

  37. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล ...

  38. กระแสIFCVSRussian Current... • คุณสมบัติเฉพาะ IFC ทั่วไป • กระแสสลับ (2-4 KHz) มากกว่า 2 ขบวน • เกิดการแทรกสอดความถี่บีตส์ 10-100 Hz • ผ่านผิวหนังได้ง่าย • กระตุ้นกล้ามเนื้อในส่วนลึก • แทรกสอดภายนอก (2ขั้ว) • แทรกสอดภายในร่างกายแบบคงที่ และเปลี่ยนแปลงความถี่ (4-6 ขั้ว) Russian Current (IFC) • กระแสสลับความถี่ 2,500-5,000 Hz • ความถี่บีตส์ 50 bps • Time modulation AC

  39. กระแสอินเตอร์เฟอเรนเชียล IFC ... ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึก/ผู้กระตุ้นเห็น • ไม่เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี, ไม่เจ็บ • เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อปกติ • ไม่สามารถกระตุ้นกล้ามเนื้อที่ขาดเส้นประสาทมาเลี้ยงให้ตอบสนอง • เพิ่มการไหลเวียนโลหิต, ลดบวม • ลดการเกร็ง, เพิ่ม ROM • ผลระดับเซลล์, ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ คุณสมบัติเฉพาะ IFC ทั่วไป • กระแสสลับ (2-4 KHz) มากกว่า 2 ขบวน • เกิดการแทรกสอดความถี่บีตส์ 10-100 Hz • ผ่านผิวหนังได้ง่าย • กระตุ้นกล้ามเนื้อในส่วนลึก • แทรกสอดภายนอก (2ขั้ว) • แทรกสอดภายในร่างกายแบบคงที่ และเปลี่ยนแปลงความถี่ (4-6 ขั้ว)

More Related