150 likes | 318 Views
กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. การถอดความรู้และทักษะ“ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ สนับสนุนอำเภอให้เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”. นายวุฒิชัย สิงห์ซอม นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ. ประเด็นนำเสนอ. กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย. นิยามศัพท์.
E N D
กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี การถอดความรู้และทักษะ“ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ สนับสนุนอำเภอให้เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” นายวุฒิชัย สิงห์ซอม นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ประเด็นนำเสนอ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย นิยามศัพท์ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินการ กระบวนการถอดบทเรียน ผล/บทเรียนที่ได้ ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้
นิยามคำศัพท์ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์ หมายถึง การวางแผนงานสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมาย ภายใต้การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ คน เงิน วัสดุสิ่งของ และการบริหารจัดการ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ วัดจากคุณลักษณะ 5 ด้าน (กรมควบคุมโรค 2555 : 18)
ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กลไกความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”กรมควบคุมโรค ด้านนโยบาย ด้านวิชาการ ปี 54 ปี 53 ปี 2555 ปี 56 - 58 • สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) • เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” • จัดทำแผนแม่บท 54 - 58 • เชิดชู ให้รางวัล 12 -13 กย. 54 • กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย.53 อิมแพ็ค เมืองทอง • MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย ผลักดันเป็นตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการของ จังหวัด และ กสธ. (ผู้ตรวจฯ) 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง ชมรม อสม. สื่อมวลชน 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. *กำหนดเป็นนโยบาย/มีแผนที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี 5. ขยายผลเครือข่ายความร่วมมืออื่นๆ เช่น ก.เกษตร • อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ” ให้ สคร. สสจ สสอ. • สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 (ม.ค. – ก.พ.) จากทั้งหมด 9,750 แห่ง • สคร. สื่อสาร แนวทาง การประเมินผลฯ • สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/ เชียงใหม่/ นครศรีธรรมราช) • ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร • 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” • สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : • สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) • อำเภอ (รพช./สสอ.) • ตำบล (รพสต./สอ.) • สื่อมวลชน • 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์ แนวทางการประเมินฯ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ตำบล ครอบคลุมทั้งประเทศ พร้อมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้จังหวัด สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ *พัฒนาระบบการประเมินรับรอง (accreditation) พัฒนา M&E เพื่อพัฒนาส่วนขาดของพื้นที่ • สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ • สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน • เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย สร้างความสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ *ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน *จัดทำสื่อต้นแบบ *กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร.ให้ชัดเจน • “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร • ติดตาม สะท้อนผลงาน
ความเป็นมา กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สร้างกระบวนการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรของกลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สามารถให้การสนับสนุนเครือข่ายภายในและภายนอกได้
ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งยุทธศาสตร์การสนับสนุนการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2555 ของกลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.7 อุบลราชธานี กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย
วัตถุประสงค์ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย 1. เพื่อถอดความรู้และทักษะการบริหารจัดการสนับสนุนอำเภอให้เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนปี 2555 2. เพื่อนำความรู้และทักษะที่ได้ไปใช้ในการพัฒนางานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในปีต่อไป
ขั้นตอนการดำเนินการ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย เป็นการถอดบทเรียนทั้งโครงการ 1. ขั้นเตรียมการ รวบรวมและชี้แจงข้อมูลผลการดำเนินการ กำหนดแนวทางวิธีการและขั้นตอน กำหนดบทบาทหน้าที่ 2. ขั้นดำเนินการ สร้างบรรยากาศ แจ้งเป้าหมาย ระดมความคิดตามประเด็นและเป้าหมายที่กำหนด จดบันทึก 3. ขั้นเขียนรายงาน ศึกษาองค์ประกอบ รวบรวมผลจากการบันทึก เขียนรายงาน 4. ขั้นติดตามการนำไปใช้
กระบวนการถอดบทเรียน กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย • กลุ่มเป้าหมายคือ บุคลากรกลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย • เครื่องมือและอุปกรณ์ เอกสารสรุปผลการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม • กระดาษชาร์ท สีเมจิก • หัวหน้ากลุ่ม(คุณเอื้อ)ชี้แจงกรอบและวัตถุประสงค์ของการถอดบทเรียน • สมาชิกกลุ่ม(คุณกิจ)แต่ละคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นตามกรอบ และประเด็นที่วางไว้ • ผู้รับผิดชอบงานหลัก(คุณอำนวย)พยายามจับประเด็นและให้ข้อเสนอและให้ข้อมูลที่เป็นจริง และตั้งคำถามให้ตรงกับวัตถุประสงค์ • เลขากลุ่ม(คุณลิขิต)เก็บ รวบรวม และสังเคราะห์ข้อมูล • * สมาชิกในกลุ่มทุกคนสามารถออกความเห็นได้ตามเหมาะสม • และทำทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรม
ผลการดำเนินการ/บทเรียนที่ได้ผลการดำเนินการ/บทเรียนที่ได้ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย • คน (Man) • ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ มีความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีต่อกัน รวมทั้งเข้าใจในนโยบายเป็นอย่างดี • ผู้รับผิดชอบงานทุกระดับของ สคร.มี ISMART • คณะทำงานและผู้ปฏิบัติงานทุกภาคส่วนมีความเข้าใจในนโยบายเป็นอย่างดี • เงิน (Money) • ความล่าช้าในการโอนงบประมาณจากส่วนกลาง • ระเบียบทางการเงินบางอย่างไม่เอื้อต่อการดำเนินงาน • การเตรียมความพร้อมด้านเอกสารการเงิน ปัจจัย ที่มีผลต่องานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน • วัสดุสิ่งของ (Material) • เทคโนโลยีที่ทันสมัย • ความพร้อมของยานพาหนะ • ความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆเช่น คอมพิวเตอร์แบบพกพา กล้องถ่ายรูป • การจัดการ (Management) • การผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดของผู้ตรวจฯ และผลักดันให้ผู้ว่าราชการจังหวัดรับเป็นตัวชี้วัดของกพร. • การลงนามในข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ การบูรณาการร่วมกันทั้งระดับกลุ่มงานและหน่วยงาน • การสร้างแรงจูงใจโดยการประกวด ประเมิน • การนำกระบวนการของการจัดการความรู้มาพัฒนาการดำเนินงาน • การประสานงานระหว่างพื้นที่กับ สคร.
ข้อเสนอแนะสำหรับการนำบทเรียนไปใช้ข้อเสนอแนะสำหรับการนำบทเรียนไปใช้ กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย 1. การดำเนินงานทุกอย่างผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกระดับต้องทำความเข้าใจถึงหลักการและแนวทางที่จะใช้เป็นอย่างดี และควรมีการการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันอย่างต่อเนื่อง และควรให้ความสำคัญกับความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ 2. การถอดบทเรียนในแต่ละเรื่องหรือแต่ละโครงการควรมีการดำเนินการให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม และควรทำทันทีที่สิ้นสุดกิจกรรม 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานบางอย่างมีความซับซ้อน ควรทำความเข้าใจให้ดีก่อนนำไปประยุกต์ใช้ เช่น ระเบียบต่างๆ
ผลสำเร็จของการดำเนินงานปี 2555 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย • อำเภอในเขตรับผิดชอบผ่านเกณฑ์ • เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนร้อยละ 88 • (เป้าหมายร้อยละ 60) • มีอำเภอเป็นตัวแทนเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเข้าประกวดระดับประเทศจำนวน 2 อำเภอ • ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานจากภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกให้การยอมรับ ในผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่ม