330 likes | 468 Views
ระบบการชำระเงิน. The Payment System. ความสำคัญของระบบการชำระเงิน. วัตถุประสงค์ในการศึกษา. ระบบการชำระเงิน : แบบจำลองการชำระหนี้. ความสำคัญของระบบการชำระเงิน. 1. Q : ในวันหนึ่ง ๆ เราอาจไม่ได้ใช้เงินที่มีอยู่ในการซื้อสินค้า เช่น ใช้เช็ค จะมีการชำระเงินกันอย่างไร.
E N D
ระบบการชำระเงิน The Payment System
ความสำคัญของระบบการชำระเงินความสำคัญของระบบการชำระเงิน วัตถุประสงค์ในการศึกษา ระบบการชำระเงิน : แบบจำลองการชำระหนี้
ความสำคัญของระบบการชำระเงินความสำคัญของระบบการชำระเงิน 1 Q : ในวันหนึ่ง ๆ เราอาจไม่ได้ใช้เงินที่มีอยู่ในการซื้อสินค้า เช่น ใช้เช็ค จะมีการชำระเงินกันอย่างไร Q : ระบบการชำระเงินดังกล่าวมีปัญหาเกิดขึ้นหรือไม่
วัตถุประสงค์ในการศึกษาวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 การขาดแคลนปริมาณเงินเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อภาคการเงินหรือไม่ จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV = PY เมื่อ M เหตุใด P จึงไม่ปรับลด ทำให้ระบบเศรษฐกิจเข้าสู่สมดุล อะไรเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า Md ≠ Ms การทำ OMO หรือนโยบายการเงินอื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา ทางการเงินนั้น มีอะไรบ้าง และมีกระบวนการอย่างไร
ระบบการชำระเงิน 3 3.1 แบบจำลองการชำระหนี้ 3.2 การแลกเปลี่ยน (Trading) 3.3 สถาบันการเงินที่เกี่ยวข้อง
3.1 แบบจำลองการชำระหนี้ ข้อสมมติ • มีคน 2 ประเภท คือ 1. trade โดย currency • 2. trade โดย credit • ใช้ OLG model โดยเพิ่ม • 1. ตลาดหนี้ • 2. ช่องว่างระหว่างลูกหนี้ กับเจ้าหนี้
ลักษณะแบบจำลอง • มีจำนวนเกาะ = I คู่ • แต่ละเกาะมี 2N คน • ประชากรมีอายุ 2 period • Period 1 มี intial old N คน • คนที่เกิดในเกาะลูกหนี้ มี endownment = y • (nonstorable goods) และแตกต่างกันไปแต่ละเกาะ • เมื่อแก่ก็จะไม่มี
ลักษณะแบบจำลอง (ต่อ) • คนหนุ่มที่เกิดในเกาะเจ้าหนี้ มีendownment = y • (nonstorable goods) แตกต่างกันไปในแต่ละเกาะ • แล้วแก่ก็จะไม่มี • คนแก่ที่เกิดในเกาะลูกหนี้ ต้องการบริโภคสินค้าของเจ้าหนี้ • เมื่อหนุ่ม และไม่ต้องการบริโภคเมื่อแก่ • คนที่เกิดในเกาะเจ้าหนี้ ต้องการบริโภคสินค้าของลูกหนี้ • เมื่อแก่ และไม่ต้องการบริโภคเมื่อหนุ่ม
ลักษณะแบบจำลอง (ต่อ) • Initial old creditors เป็นเจ้าของ fiat money • Stock จำนวนหนึ่ง = M ดอลลาร์ ในแต่ละเกาะของเจ้าหนี้ • 10.บน central island จะมี banker จำนวนมาก แต่ละคนไม่ • มี endownment ของตนเอง แต่มีเทคโนโลยีสำหรับการเก็บ • ข้อมูลและบังคับให้เป็นไปตามสัญญา • 11. สถาบันที่มีอำนาจในการพิมพ์เงินตั้งอยู่บน central island
การแลกเปลี่ยน ( trading) 1. ในการ trading ใช้ fiat money เป็นสื่อกลาง 2. young debtor ต้องการบริโภคสินค้าจาก creditor แต่ไม่มีสินค้าที่สามารถ trade กับ creditor ได้โดยตรง 3. ลูกหนี้ไม่มีเงินในขณะที่แลกเปลี่ยนสินค้าจากเจ้าหนี้ 4. ลูกหนี้ใช้ promise to pay แลกเปลี่ยนสินค้ากับเจ้าหนี้ โดยจะจ่ายคืนใน period หน้า บน central island
ข้อสังเกต 1. ราคาถูกกำหนดโดยดุลยภาพในตลาดเงิน 2. ปริมาณเงินเท่ากับ fiat money ในเกาะลูกหนี้ 3. Ny = Mvt = M / Pt Pt = M / Ny
สถาบันการเงินกับบทบาทในการชำระหนี้สถาบันการเงินกับบทบาทในการชำระหนี้ กรณี 1 : เจ้าหนี้และลูกหนี้มาพร้อมกัน และไม่มีต้นทุนในการค้นหาไม่จำเป็นต้องมีสำนักหักบัญชี กรณี 2 : เจ้าหนี้และลูกหนี้มาไม่พร้อมกัน 2.1 เกิดOverlap : เจ้าหนี้และลูกหนี้ที่มาไม่ใช่คู่ของกัน หรือ เป็นคู่กันแต่มาไม่พร้อมกัน สำนักหักบัญชี ก็จะเข้ามามีบทบาทในการชำระหนี้ 2.2 ไม่เกิด Overlap : หากเกิดปัญหาสภาพคล่อง สำนักหักบัญชีจะออกFiat Money ดังนั้น สำนักหักบัญชีจึงมีความสำคัญ
ความสำคัญของสำนักหักบัญชีจะมีขึ้น เมื่อเจ้าหนี้และลูกหนี้มาไม่พร้อมกัน ในกรณีที่เจ้าหนี้มาถึงก่อน การชำระหนี้จะเกิดปัญหาขึ้น เนื่องจากลูกหนี้มาถึงช้ากว่า จึงไม่มีเงินมาให้คืนเจ้าหนี้ จึงเกิดปัญหาการขาดแคลนสภาพคล่องเกิดขึ้น ธนาคารกลางจะมีวิธีจัดการกับปัญหาสภาพคล่องนี้อย่างไร
การจัดหาสภาพคล่อง 1) กรณีปริมาณเงินคงที่ สมมติ : 1. Fiat Money เป็นสินทรัพย์ทางการเงินเพียงชนิดเดียว ซึ่งคนแก่จะได้เงินจากสำนักหักบัญชี เพื่อนำไปใช้จ่าย 2. Fiat Money คงที่ ภายใต้ปริมาณเงินคงที่ หากเจ้าหนี้มาถึงก่อนลูกหนี้ สำนักหักบัญชีก็จะไม่มีเงินมาจ่ายคืนเจ้าหนี้ได้ ทำให้เจ้าหนี้ไม่ต้องการที่จะปล่อยกู้ เกิดภาวะ Autarkic Equilibrium สวัสดิการในกรณีนี้ก็จะต่ำ
หากมีการคลายข้อจำกัดออก ก็จะทำให้สวัสดิการสูงขึ้น เช่น สำนักหักบัญชีจะออก Fiat Money หรือธนบัตรเพื่อจ่ายเงินให้เจ้าหนี้กรณีมาถึงก่อนลูกหนี้ 2) กรณีปริมาณเงินไม่คงที่ สมมติ: ธนาคารกลางพิมพ์ Fiat Money ขึ้นชั่วคราว เพื่อจ่ายให้กับเจ้าหนี้ และใช้นโยบาย Discount Window
ขั้นตอนนโยบาย : Discount window
ธนาคารกลาง Fiat money ชั่วคราว เป็น real bill คิดดอกเบี้ยตามที่ประกาศไว้ ( discount rate ) ให้กู้ สำนักหักบัญชี แก้ปัญหาสภาพคล่อง เจ้าหนี้
ธนาคารกลาง Fiat money Real bill Fiat money Real bill IOU ไปขอกู้ IOU กลับมา สำนักหักบัญชี Fiat money Fiat money IOU IOU เจ้าหนี้ ลูกหนี้
พิสูจน์ว่าไม่เกิดเงินเฟ้อพิสูจน์ว่าไม่เกิดเงินเฟ้อ demand for money = stock of money Md = Ms Ny = M / Pt Pt = M / Ny เนื่องจาก ปริมาณเงิน ( M ) จำนวนประชากร (N) และ ผลผลิต ( Y) ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ระดับราคาสินค้า(Pt) จึงคงที่ (ไม่เกิดเงินเฟ้อ)
3) กรณี ปริมาณเงินภายในไม่คงที่ 3.1 สำนักหักบัญชีพิมพ์ clearing house notes ที่มี reserve เต็มมูลค่า ขั้นตอน :
สำนักหักบัญชี Clearing house note Clearing house note IOU IOU เจ้าหนี้ ลูกหนี้
ปริมาณเงินทั้งหมดในแต่ละเกาะลูกหนี้ จะเท่ากับผลรวมของ fiat money ที่ถือโดยประชาชน (Mp ) และธนบัตรที่ออกโดยclearing house (Mb ) ดังนั้น M = Mp + Mb P = (Mp + Mb ) / Ny
การออกธนบัตรที่มี reserve หนุนหลังเต็มจำนวน (full backed) ความต้องการถือ fiat money ของประชาชน จะเท่ากับ fiat money stock ทั้งหมด ลบด้วย bank reserve (Γ) Mp = M – Γ bank reserve จะเท่ากับ ปริมาณธนบัตรที่คาดว่าจะถูกนำมาชำระหนี้ : Γ = Mb
ดังนั้น การถือcurrency ของประชาชน จะเท่ากับ Mp + Mb = ( M – Γ ) + Mb = M ดังนั้น P = (Mp+ Mb ) / Ny = M / Ny ดูลยภาพของกระบวนการนี้จึงเหมือนกับกรณี discount window คือการให้สภาพคล่องเต็มที่โดยไม่เกิดปัญหาเงินเฟ้อตามมา
3.2 สำนักหักบัญชี พิมพ์clearing house notes ที่มี reserve ไม่เต็มมูลค่า 1. clearing house notes และ fiat money ทดแทนกันได้สมบูรณ์ 2. ให้ bank reserve เท่ากับศูนย์ (Γ = 0) 3. ในขณะหนึ่งสำนักหักบัญชีมี fiat money อยู่ในมือ ซึ่งสามารถนำไปบริโภคได้ 4. ปริมาณเงินระบบเศรษฐกิจ เท่ากับ Mp+ Mb
Mp = M – (Γ = 0) Mp = M Mp + Mb = M +Mb P = (Mp + Mb ) / Ny = (M + Mb ) / Ny > M / Ny ดังนั้น ในกรณีนี้จึงเกิด เงินเฟ้อ
อัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นอัตราดอกเบี้ยในระยะสั้น 1. Initial old banker ไม่สามารถออกธนบัตรเองได้ แต่เป็นเจ้าของ fiat money เท่ากับ M ยูนิต 2. เมื่อหนุ่ม banker ได้ endowment เป็นสินค้าจาก central island โดยไม่สามารถเก็บข้ามช่วงเวลาได้ 3. old banker ใช้เงินจำนวนนี้ไปซื้อสินค้าจาก young ที่ central island หรือจากเกาะลูกหนี้
ถ้า M* < IM จะเกิดปัญหาสภาพคล่องเกิดขึ้น จะทำให้ไม่สามารถชำระคืนหนี้ได้ทั้งหมดในราคา parได้ M* = ความต้องการถือ fiat money ของ banker IM = ปริมาณหนี้ทั้งหมด เจ้าหนี้จะถูกบังคับให้ขายหนี้แก่ bankerในราคาลด(discount rate) ξ = M*/ IM < 1 ทำให้ ผลตอบแทนของเจ้าหนี้ ต่ำลง (ξ< 1 )ทำให้เจ้าหนี้ต้องการให้กู้น้อยลง ก็จะส่งผลเสียแก่ลูกหนี้ตามมา
สมมติให้ธนาคารกลาง สามารถออกและให้กู้ fiat money ในจำนวนเท่ากับ ปริมาณหนี้ทั้งหมด และเงินกู้ของธนาคารกลางถูกกำหนดให้มีการจ่ายคืนด้วย fiat money ให้ ψ = gross nominal interest rate ที่ธนาคารกลางคิดเมื่อปล่อยกู้ ซึ่งก็คือ discount window นั่นเอง (ψ ≥ 1)
หนี้แต่ละหน่วยสร้างต้นทุนแก่ banker เท่ากับ ξและได้ผลตอบแทนกลับมาเท่ากับ $1 ดังนั้น gross rate of return = 1 / ξ ธนาคารก็จะกู้เงินจากธนาคารกลาง จนกระทั่ง 1 / ξ = ψ ยิ่ง discount window ต่ำเท่าใด banker ก็จะกู้ยืมและปล่อยกู้มากเท่านั้น (arbritrage)
ดังนั้น ธนาคารกลางจะควบคุมนโยบาย โดยพิจารณาจาก fiat money ที่ขาดไป แล้วปรับเพิ่ม ψ เพื่อเป็นการปรับปริมาณเงินให้สอดคล้องกับความต้องการของระบบเศรษฐกิจในขณะนั้น จะเห็นว่า ธนาคารกลางสามารดำเนินนโยบายในการควบคุมสภาพคล่องของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลไปยังอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น โดยจะไม่มีผลกระทบในระยะยาว
การออก fiat money โดยสำนักหักบัญชีจะไม่ทำให้เกิดเงินเฟ้อ เนื่องจาก 1. fiat money จะถูกนำออกจากระบบเศรษฐกิจเมื่อมีการชำระหนี้เสร็จสิ้น 2. ในการแสวงหากำไรของสำนักหักบัญชีจะหยุดเมื่อ 1 / ξ = ψ ซึ่งก็จะทำให้ปริมาณเงินคงที่ ดังนั้นในการดำเนินนโยบาย เพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารกลางก็จะไม่ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อเนื่องจากปริมาณเงินคงที่