280 likes | 570 Views
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.). สุวิช เทศนา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังเขต 2 จังหวัดฉะเชิงเทรา. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.). 1. ความเป็นมาในการจัดตั้ง กบข. 2. การจัดตั้งและลักษณะของกองทุน 3. การควบคุมและการบริหาร 4. สมาชิกและสิทธิประโยชน์ของสมาชิก
E N D
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) สุวิช เทศนา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังเขต 2 จังหวัดฉะเชิงเทรา
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) 1. ความเป็นมาในการจัดตั้ง กบข. 2. การจัดตั้งและลักษณะของกองทุน 3. การควบคุมและการบริหาร 4. สมาชิกและสิทธิประโยชน์ของสมาชิก 5. การลงทุน การบัญชี และการตรวจสอบ 6. การควบคุม การจัดการ บทกำหนดโทษ
1.ความเป็นมาในการจัดตั้ง กบข. ความเป็นมา – คณะรัฐมนตรีมีมติให้กระทรวงการคลังปรับปรุงระบบบำเหน็จบำนาญ ให้เป็นระบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเหตุผลในการจัดตั้ง 1. รัฐไม่มีการกันเงินไว้จ่ายบำเหน็จบำนาญ 2. สร้างสถาบันเงินออม 3. เพื่อเป็นหลักประกันแก่ข้าราชการ วัตถุประสงค์ 1. หลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญและประโยชน์ตอบแทน 2. ส่งเสริมการออมของสมาชิก 3. จัดสวัสดิการและประโยชน์อื่น
2. การจัดตั้งและลักษณะของกองทุน - กองทุนเป็นนิติบุคคล มีสำนักงานเป็นอิสระ - เป็นระบบผสมบำเหน็จบำนาญกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - มีการกันเงินสำรองไว้ล่วงหน้า - สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหาร ทรัพย์สินของกองทุน 1. เงินสะสม เงินสมทบ เงินประเดิม และเงินชดเชย 2. เงินที่รัฐจัดสรรให้ 3. ทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ 4. รายได้อื่น 5. ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน
3. การควบคุมและการบริหาร องค์ประกอบคณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการกองทุน บำเหน็จบำนาญข้าราชการ” ประกอบด้วย 1. ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ 2. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เป็นกรรมการ 3. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นกรรมการ 4. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นกรรมการ 5. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ
คณะกรรมการกองทุน(ต่อ) 6. ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เป็นกรรมการ 7. อธิบดีกรมบัญชีกลาง เป็นกรรมการ 8. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการ 9. เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ เป็นกรรมการ 10. ผู้แทนสมาชิกซึ่งเป็นข้าราชการ ประเภทละ 1 คน เป็นกรรมการ 11. ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน เป็นกรรมการ * ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ 1. กำหนดนโยบายการลงทุน ออกระเบียบฯ ในการบริหาร กิจการของกองทุน 2. ออกข้อบังคับว่าด้วยการปฏิบัติงานของเลขาธิการ 3. กำหนดการรับ การเก็บรักษา และการจ่ายเงินกองทุน 4. พิจารณามอบหมายให้สถาบันการเงินจัดการเงินกองทุน คณะอนุกรรมการจัดการลงทุนประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจ การคลัง ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน เลขาธิการกองทุน คณะอนุกรรมการสมาชิกสัมพันธ์ประกอบด้วย เลขาธิการ ก.พ. ผู้แทน กรม บัญชีกลาง ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ ผู้แทนสมาชิก 5 คน เลขาธิการกองทุน
4. สมาชิกและสิทธิประโยชน์ของสมาชิก สมาชิกประกอบด้วย ข้าราชการพลเรือน ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายอัยการพลเรือน ในมหาวิทยาลัย ครู รัฐสภาสามัญ ตำรวจ และทหาร ประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับ เงินงบประมาณ 1. บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 2. บำนาญสูตรใหม่ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X เวลาราชการ 50 #ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
ประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับ (ต่อ) เงินกองทุน 3. เงินประเดิม 2% ของเงินเดือนที่ผ่านมา เวลาราชการ เวลาราชการ = 25 X เงินเดือน [ (1.09) - (1.08)] เวลาราชการ - 1 (1.08)
4. เงินชดเชย 2% ของเงินเดือน เข้ารับราชการ เป็นสมาชิกกองทุน ออกจากราชการ 5. เงินสะสม - หักจากเงินเดือน 3% เพื่อส่งเข้ากองทุน ในวันจ่ายเงินเดือน 6. เงินสมทบ – รัฐจ่ายสมทบเข้ากองทุน 3% ของเงินเดือน 7. ผลประโยชน์ – ดอกผลของ (3) (4) (5) และ(6) *การคำนวณเงินสะสม สมทบ ชดเชย ประเดิม ไม่รวมเงินเพิ่มทุกประเภท เงินประเดิม 2 % ของเงินเดือนโดยประมาณ เงินชดเชย 2 % ของเงินเดือน โดยประมาณ
5. การลงทุน การบัญชี และการตรวจสอบ หลักเกณฑ์การลงทุน 1. สินทรัพย์ที่มีความมั่นคงสูงไม่น้อยกว่า 60 % 2. สินทรัพย์อื่นๆ 40 % 3. เงินสำรองต้องลงทุนในตราสารแสดงสิทธิในหนี้ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจก่อน บัญชีกองทุน 1. บัญชีเงินสำรอง 2. บัญชีกองกลาง 3. บัญชีเงินรายบุคคล * การตรวจสอบสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้ตรวจสอบบัญชี
6. การควบคุม การจัดการ บทกำหนดโทษ สถาบันการเงินใดจัดการเงินของกองทุนที่อาจเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย - รัฐมนตรีแจ้งให้คณะกรรมการพิจารณาดำเนินการ - คณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้ผู้จัดการแก้ไข ระงับ หรือยกเลิก การจัดการลงทุน บทกำหนดโทษ - สถาบันการเงินไม่หยุดจัดการกองทุนหรือส่งมอบทรัพย์สินคืนตามกำหนด - ปรับไม่เกิน 1 ล้านบาท - ปรับอีกไม่เกินวันละ 1 แสนบาท จนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
- กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลที่ต้องรับผิดชอบใน การดำเนินงานฯ - จำคุกไม่เกิน 3 ปี - ปรับไม่เกิน 1 ล้าน 5 แสนบาท - หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราเงินเดือนเฉลี่ย 5 ปี เลื่อนขั้นเงินเดือน ปีละ 5% รวม 25% 2 ขั้น 1 ครั้ง 5% ปรับอัตราเงินเดือน 10% รวม 40% เฉลี่ยปีละ 8%
การแสดงผลประโยชน์รวมโดยประมาณของระบบกองทุนฯ (กบข.) และระบบบำเหน็จบำนาญปัจจุบัน
บำนาญสูตรปัจจุบัน 1) บำนาญสูตรปัจจุบัน เดือนละ 47,419 บาท 2) บำนาญสูตรปัจจุบันรวมเวลาทวีคูณ เดือนละ 0 บาท
การแสดงผลประโยชน์รวมโดยประมาณของระบบกองทุน (กบข.) และระบบบำเหน็จบำนาญปัจจุบัน
การแสดงผลประโยชน์รวมโดยประมาณของระบบกองทุน (กบข.) และระบบบำเหน็จบำนาญปัจจุบัน
(ต่อ) • สวัสดิการสำหรับสมาชิก กบข. • โครงการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัย ธอส.+ กบข. • โครงการ ซิมการ์ด สมาชิก กบข. • โครงการสิทธิพิเศษสมัคร Joy cardของ s&p • โครงการลดราคาน้ำมัน กับ ปั้มบางจาก (ที่เข้าร่วมโครงการ) • ผู้สนใจเข้าดูได้จากเว็บไซต์ กบข. www.gpf.or.th