671 likes | 1.82k Views
การจัดการเรียนรู้. โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก. “การจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียน มาตรฐานสากล ”. สถานศึกษา จะจัดอย่างไร ?. เป้าหมายของการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล. “การพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก”. จัด การเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล
E N D
การจัดการเรียนรู้ โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก
“การจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล”“การจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล”
สถานศึกษาจะจัดอย่างไร?สถานศึกษาจะจัดอย่างไร?
เป้าหมายของการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากลเป้าหมายของการพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล “การพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก” จัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล World-Class Standard เป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารสองภาษา บริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ Quality System Management ล้ำหน้าทางความคิด คุณภาพผู้เรียน ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบ ต่อสังคมโลก
กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่คุณภาพที่คาดหวัง: กระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได 5 ขั้น “ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก” IS3 IS2 IS1
ม.1-3 และ ม.4-6 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา ที่ต่อเนื่องกัน (รายวิชาละ 1-1.5 หน่วยกิต) ภาคเรียนละ 1 รายวิชา ในชั้นปีใดปีหนึ่งของแต่ละระดับ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • รายวิชาเพิ่มเติมที่ 1 ใช้ชื่อ “การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) กระบวนการจัดการเรียนรู้ครอบคลุมสาระ IS1โดยผู้เรียนเลือกประเด็นที่สนใจในการเรียนรู้ เพื่อกำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้
รายวิชาเพิ่มเติมที่ 2 ใช้ชื่อ “การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) กระบวนการจัดการเรียนรู้ครอบคลุมสาระ IS2โดยผู้เรียนนำสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากรายวิชาเพิ่มเติมที่ 1 (IS1) มาเขียนรายงาน หรือเอกสารทางวิชาการ และนำเสนอ เพื่อสื่อสารถ่ายทอดข้อมูลความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ • ผลผลิต / หลักฐานจากการเรียนรู้ ได้แก่ ผลงานการเขียนทางวิชาการ 1 ชิ้น และการสื่อสารนำสิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า • - ม.ต้น เป็นภาษาไทย 2,500 คำ • - ม.ปลาย เป็นภาษาไทย4,000 คำ หรือภาษาอังกฤษ 2,000 คำ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้จัด IS3 ไว้ในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยผู้เรียนนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือประสบการณ์จากรายวิชาเพิ่มเติมทั้ง 2 รายวิชา ไปประยุกต์ใช้ในการทำประโยชน์ต่อสังคม
เครื่องมือสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน:เครื่องมือสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน: การจัดการเรียนรู้ IS (Independent Study) IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) มุ่งให้กำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้ และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้ IS2 การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) มุ่งให้นำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด / สื่อสารความหมาย / แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ด้วยวิธีการนำเสนอที่เหมาะสมหลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ IS3การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) มุ่งให้ผู้เรียนนำองค์ความรู้ / ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service)
การจัดการเรียนรู้รายวิชาการจัดการเรียนรู้รายวิชา IS1 IS2 IS3 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เริ่มดำเนินการพุทธศักราช 2556 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ตัวอย่าง เป็นกิจกรรมที่นำความรู้ หรือประยุกต์ใช้ความรู้ หรือประสบการณ์จาก
ประเด็นพิจารณา ๑. ตารางสอน ๒. แหล่งค้นคว้า ๓. ครูผู้สอน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ 1. การสังเกต การตั้งคำถาม การตั้งปัญหา 2. สมมติฐาน 3. พิสูจน์, ตรวจสอบ, ค้นคว้า, ทดลอง, รวบรวมข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุปผล
ครูคนที่ 1 = ครูวิทยาศาสตร์,ครูคณิตศาสตร์ ครูคนที่ 2 มม /ฝ/ ภาษาไทย ม. 2/1 การงานอาชีพ ม. 2/2 สังคม ม. 2/3 ศิลปะ
ครูคนที่ 1 = ครูวิทยาศาสตร์,ครูคณิตศาสตร์ ครูคนที่ 2 มม /ฝ/ ภาษาไทย ม. 2/1 การงานอาชีพ ม. 2/2 สังคม ม. 2/3 ศิลปะ
การวัดและประเมินผล ประเมินตามสภาพจริง ภาคกระบวนการ -การกำหนดปัญหา -การตั้งสมมติฐาน -การสืบค้นข้อมูล, การวิเคราะห์ข้อมูล -การสรุป ภาคความรู้ -สรุปผล -ชิ้นงาน, ผลงาน
ข้อคำนึงในการบริหารจัดการข้อคำนึงในการบริหารจัดการ ๑. นักเรียนศึกษาในประเด็นที่ตนเองสนใจ ๒. ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการศึกษาค้นคว้า มิใช่ฟังบรรยาย ๓. ไม่ก่อให้เกิดความวุ่นวายในโรงเรียน
การจัดการเรียนการสอนรายวิชา IS เป็นความร่วมมือในการพัฒนานักเรียนตามหลักของ QSCCS ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนในการจัดการเรียนการสอน
5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 4. สื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 3.การสรุปองค์ความรู้ (KnowledgeFormation) 2. สืบค้นความรู้ (Searching for Information) 1. ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation)