1 / 19

ความเป็นมาและความสำคัญในการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.)

ความเป็นมาและความสำคัญในการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.). ศูนย์ประสานงานองค์การมชน (ศอช.). ความเป็นมา. พ.ศ. 2544 ได้มีระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ.2544

Download Presentation

ความเป็นมาและความสำคัญในการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นมาและความสำคัญในการดำเนินงานความเป็นมาและความสำคัญในการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.)

  2. ศูนย์ประสานงานองค์การมชน (ศอช.) ความเป็นมา พ.ศ. 2544 ได้มีระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ.2544 พ.ศ. 2551 กระทรวงมหาดไทย ได้ปรับปรุงระเบียกรมการพัฒนาชุมชนฯ เป็นระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน เพื่อมุ่งเสริมขีดความสามารถของกลุ่ม/องค์การภาคประชาชนในการพัฒนาชุมชนและเพื่อเสริมสร้างกลไกการรวมพลังภาคประชาชน อันสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550

  3. ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) องค์การเครือข่ายชุมชน คือ สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ ระหว่าง ผู้นำ กลุ่ม องค์การ ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน ทำหน้าที่ ทำงาน ประสานสัมพันธ์กับภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อ สร้างพลังชุมชน และพัฒนาศักยภาพ ผู้นำชุมชน และกลุ่มองค์การชุมชน ให้เข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ ด้วยการ บูรณาการกิจกรรมต่างๆ ตามบริบทของชุมชน โดย มีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การส่งเสริม สนับสนุนและเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินกิจการ

  4. คุณค่าของ ศอช. • ทำให้เกิดการรวมตัวของผู้นำ กลุ่ม องค์การ “เป็นเครือข่าย” ที่ก่อให้เกิดพลังชุมชน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • “ความเป็นเครือข่ายที่มีคุณภาพ” ของ ศอช. ย่อมส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง • “เป็นเครือข่ายแห่งการเรียนรู้” ด้วยตนเอง และ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างองค์การสมาชิก • “ ศอช. ที่มีศักยภาพ จะสามารถทำงานเคียงคู่กับ อปท. และทำให้งานของ อปท. มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น

  5. หลักการ ของ ศอช. เป็นสมาชิก ด้วยความสมัครใจ และมีความเป็นอิสระ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม เป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน บริหารงานและทำงานด้วยความเอื้ออาทรและช่วยเหลือเกื้อกูล ยึดประโยชน์ของประชาชน / ชุมชนเป็นตัวตั้ง ควบคุมและบริหารงาน โดย สมาชิก ตามหลักการประชาธิปไตย บูรณาการกิจกรรม เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดำเนินกิจกรรมตามบริบทของชุมชน มีการจัดระบบการสื่อสาร ทั้ง ภายใน ภายนอก และสู่สาธารณะ ไม่เป็นกลไกหรือหน่วยงานในสังกัดภาครัฐ

  6. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย เจตนารมณ์ ๑. มุ่งให้เป็น “กฎหมายส่งเสริม” การทำงานระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน๒. เพื่อให้องค์กรชุมชนยังคงดำเนินกิจการด้วยความเป็นอิสระในการดำเนินงาน๓. เพื่อให้ทุกภาคส่วนในสังคม มีส่วนร่วมในการพัฒนา ให้เกิดความสมดุล ยั่งยืน และ”อยู่เย็น เป็นสุข”๔. เพื่อให้เป็นกลไก และมาตรการในการส่งเสริมให้เกิดการรวมตัวและสร้าง การมีส่วนร่วมของประชาชนด้วยความสมัครใจ๕. เพื่อให้เป็นกลไกขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงมหาดไทยที่สำคัญ ได้แก่ การประกาศระเบียบวาระแห่งชาติ การบูรณาการแผนชุมชน การดำเนินงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการส่งเสริมประชาธิปไตย เป็นต้น

  7. โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช) คณะกรรมการกลาง ศอช.------------------------------------------------------ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธาน- อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองประธาน- หัวหน้าส่วนราชการฯ มท. (12 คน)- ผู้แทน ศอช. (5 คน)- ผู้แทนเครือข่ายฯ (5 คน)- ผู้ทรงคุณวุฒิ (5 คน)- นายสุชาติ สุวรณ (รอง อพช.) กรรมการ และเลขานุการ- ผอ.สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรรมการและ ผช. เลขานุการ หน้าที่ (คณะกรรมการกลาง): ----------------------1.กำหนดนโยบาย ควบคุมกิจการ2.ออกระเบียบ ข้อบังคับ3.แต่งตั้งอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่4.จัดให้มีการประเมินความก้าวหน้า ทุกระดับ5.จัดทำฐานข้อมูล6.ปฏิบัติการอื่นตามที่ปลัดกระทรวง มอบหมาย สำนักงานอำนวยการ คณะกรรมการกลาง ศอช. -------------------------------หน้าที่ :1. ปฏิบัติงานด้านวิชาการและธุรการ2. สนับสนุนการจัดประชุม ที่ตั้ง : กรมการพัฒนาชุมชนสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน หน้าที่ :(คณะทำงานส่งเสริม)1. สนับสนุนภารกิจ ศอช.2. สริมสร้างความเข้มแข็ง / พัฒนาทักษะ3. ให้คำปรึกษาด้านวิชาการ กฎหมาย ระเบียบ หน้าที่ (สำนักงานกลาง ศอช.) ---------------------1. ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนเรียนรู้2 .พัฒนาความรู้ / สวัสดิการ3 .อื่นๆ ตามที่กรรมการมอบหมาย สำนักงานกลาง ศอช.--------------------------------------------ที่ตั้ง กรมการพัฒนาชุมชน

  8. โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช) ภารกิจ (คณะกรรมการบริหาร ศอช.):1.สนับสนุนกระบวนการฐานข้อมูล( )2.บูรณาการแผนชุมชน ตำบล ประสานแผนท้องถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัด( ) 3.ประสานระหว่างองค์การชุมชน4.ประสาน/สนับสนุนประชาธิปไตย( )5.สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน.ตามหลักธรรมาภิบาล ( )6.ประสาน/สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง ( ) 7.สนับสนุนให้มีกองทุน/สวัสดิการในชุมชน8.ส่งเสริม/ประสานให้มีการจัดการความรู้9.สนับสนุนและส่งเสริมการปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ สร้างภูมิคุ้มกันของสังคมฯ( ) 10.ประสาน/ ส่งเสริมการป้องกันยาเสพติด ( )11.ประสาน/สนับสนุนการมีส่วนร่วมอนุรักษ์บำรุงรักษาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ( )12.ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ13.ส่งเสริมกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม คณะกรรมการบริหาร ศอช.จ. จำนวน 9-25 คนผู้แทน ศอช.อ. ผู้แทนองค์การเครือข่ายพัฒนาชุมชนระดับจังหวัด ผู้แทนเครือข่ายองค์การชุมชนอื่นระดับจังหวัด และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทำงานส่งเสริม ศอช.จ. ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือผู้ทรงคุณวุฒิจนท.พช. เป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร ศอช.อ. จำนวน 9-25 คนผู้แทน ศอช.ต. ทุกตำบลในอำเภอ ผู้แทนเครือข่ายองค์การชุมชนระดับอำเภอ และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทำงานส่งเสริม ศอช.ฮ. ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือผู้ทรงคุณวุฒิจนท.พช. เป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร ศอช.ต. จำนวน 9-25 คนผู้แทนองค์การชุมชน ผู้นำชุมชน / กลุ่มอื่นๆหรือผู้แทนองค์การชุมชนอื่นในตำบลนั้น คณะทำงานส่งเสริม ศอช.ต. นายก อบต. หรือผู้แทนกำนัน ผญบ. และข้าราชการจนท.พช. เป็นเลขานุการ

  9. กรมการพัฒนาชุมชน Community Development Department คณะกรรมการกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) ภาคราชการ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองประธานกรรมการ อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรรมการ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง กรรมการ อธิบดีกรมที่ดิน กรรมการ ผู้ว่าการประปาส่วนภูมิภาค กรรมการ ผู้ว่าการไฟฟ้า กรรมการ นายสุชาติ สุวรรณ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กรรมการและเลขานุการ นายสมชาย วิทย์ดำรง ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรรมการและผู้ช่วย กรมการพัฒนาชุมชน เลขานุการ 1

  10. กรมการพัฒนาชุมชน Community Development Department คณะกรรมการกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) ผู้แทน ศอช. ประกอบด้วย นายวิพัฒน์ วงษ์ชารี ประธาน ศอช.จ.หนองบัวลำภู นายวินิจ ชัยชิต ประธาน ศอช.ต.แม่นะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ นายสุภาพ โนรีวงศ์ ประธาน ศอช.จ.ฉะเชิงเทรา นายนิรพงษ์ สุขเมือง ประธาน ศอช.จ.ปัตตานีนายประเดิม เติมมี ประธาน ศอช.อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา

  11. กรมการพัฒนาชุมชน Community Development Department คณะกรรมการกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) ผู้แทนเครือข่ายองค์การชุมชนประกอบด้วย นางเตือนใจ บุรพรัตน์ สมาคมผู้นำสตรีพัฒนาชุมชนไทยนายอำนาจ ศิริชัย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทยนายประสงค์ มั่นกันนาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งประเทศไทย นายสุรชัย ฉัตรภิญญาคุปต์ สมาคมผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนไทยนายชำนาญ ภูวิลัย สมาคมกำนันผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย

  12. กรมการพัฒนาชุมชน Community Development Department คณะกรรมการกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) ผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย นายสรรค์ชัย อินหว่าง อดีตรองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รศ.ดร.เสาวคนธ์ สุดสวาท อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายธนภัทร บำรุงเขตต์ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยนโยบายและแผนสิทธิมนุษยชน นายนภดล แก้วสุพัฒน์ นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย นางรัชนีภรณ์ คุปรัตน์ นายกสมาคมอาสาพัฒนาชุมชนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  13. คณะกรรมการสำนักงานกลาง ศอช.

  14. สวัสดี

More Related