440 likes | 771 Views
หน่วยรังสีวินิจฉัยและรังสีร่วมรักษา ภาควิชารังสีวิทยา. การประกันคุณภาพการรักษาพยาบาล. แห่งเดียวในภาคใต้. รังสีร่วมรักษา ( Vascular and Interventional Radiology ). ผู้รับบริการพึงพอใจ. ไร้ข้อผิดพลาด. คุณภาพ (Quality) คืออะไร. สานคุณภาพชีวิต. ครบมาตรฐาน.
E N D
หน่วยรังสีวินิจฉัยและรังสีร่วมรักษาหน่วยรังสีวินิจฉัยและรังสีร่วมรักษา ภาควิชารังสีวิทยา การประกันคุณภาพการรักษาพยาบาล
แห่งเดียวในภาคใต้ รังสีร่วมรักษา( Vascular and Interventional Radiology )
ผู้รับบริการพึงพอใจ ไร้ข้อผิดพลาด คุณภาพ (Quality) คืออะไร สานคุณภาพชีวิต ครบมาตรฐาน
สถิติผู้ป่วย Vascular and Interventional Radiologyพ.ศ.2546-2549
ที่มาและความสำคัญของปัญหาที่มาและความสำคัญของปัญหา • มีภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดแดงสูง ปี2545(6.38%) • มีภาวะแทรกซ้อนจาการดูแลสายระบาย - กลับเข้ารับการรักษาซ้ำ ปี2545 (78.5%) - นอน ร.พ.นาน - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย • ผู้ป่วยและครอบครัวมีความวิตกกังวล • ไม่มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วยที่ชัดเจน • ระบบส่งต่อไม่ดี
Tracer of Quality ระบบการดูแลผู้ป่วย ผลลัพธ์ทางคลินิก บันทึกข้อมูล เข้าสู่ระบบ ประเมิน วางแผน ดูแล จำหน่าย ติดตาม สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล เสริมพลัง
1. ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดแดง 2. ลดการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลเนื่องภาวะแทรกซ้อน จากการดูแลสายระบาย 3. ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและลดเวลาในการนอนโรงพยาบาล 4. ก่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบและมีแผนการดูแลผู้ป่วยที่ชัดเจน 5. เพื่อให้การสื่อสารระหว่างทีมสุขภาพเป็นไปอย่างราบรื่น และชัดเจน มากขึ้น วัตถุประสงค์
1. ลดภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดแดงเหลือ 5 % (The American College of Radiology, 2002 5%) 2. ลดการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาลเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนจากการดูแลสายระบาย เหลือ 20 % ( Born P,1996 : 50% ) เป้าหมาย
1. จัดตั้งคณะกรรมการ Patient care team จัดทำ CPG โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ - กลุ่มให้การดูแลผู้ป่วยที่มารับการตรวจวินิจฉัย หลอดเลือดแดง วิธีการดำเนินการ
กลุ่มให้การดูแลผู้ป่วยที่มารับกลุ่มให้การดูแลผู้ป่วยที่มารับ การใส่สายระบายผ่านทางผิวหนัง วิธีการดำเนินการ(ต่อ)
ทีมสหสาขาวิชาชีพงานรังสีร่วมรักษาทีมสหสาขาวิชาชีพงานรังสีร่วมรักษา รังสีแพทย์ รังสีเทคนิค พยาบาล หอผู้ป่วย อายุรแพทย์ พยาบาลห้องตรวจ ศัลยแพทย์ พยาบาลรังสี ทีม Palliative care สูตินรีแพทย์ • มาตรฐานการนัดตรวจ • คู่มือการดูแลตนเอง 3 เรื่อง (ดูแลกลุ่มที่ใส่สายระบายที่เรื้อรัง) โครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย 2 เรื่อง
ทีมสหสาขาวิชาชีพงานรังสีร่วมรักษาทีมสหสาขาวิชาชีพงานรังสีร่วมรักษา รังสีแพทย์ รังสีเทคนิค พยาบาล หอผู้ป่วย อายุรแพทย์ พยาบาลห้องตรวจ ศัลยแพทย์ พยาบาลรังสี ทีม Palliative care สูตินรีแพทย์ (ดูแลกลุ่มที่ใส่สายระบายที่เรื้อรัง)
2. เก็บรวบรวมข้อมูล - แหล่งข้อมูล เวชระเบียน แบบบันทึกหัตถการของงานรังสีร่วมรักษา การประชุมร่วมกัน การรับปรึกษาจากผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
3. วิเคราะห์ข้อมูล - ข้อมูลประเภทการตรวจ - ข้อมูลภาวะแทรกซ้อนและปัญหาที่พบ
ข้อมูลทั่วไป PTBD (n=20) PCN (n=16) จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ โรคที่เจ็บป่วย - CBD Stone 1 5 - - - CBD Stricture 1 5 - - - CA head of pancreas 1 5 - - - Cholagio- carcinoma 17 85 - - - CA Cervix - - 16 100 ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ชนิดของภาวะแทรกซ้อน จำนวน % ชนิดไม่รุนแรง -Hematoma 1 0.19 - Abdominal discomfort 4 0.74 - Pain at embolization site 3 0.56 - Extravasations 4 0.74 - Chill 4 0.74 - Bleeding and swelling at puncture site 1 0.19 รวม 17 3.16 ชนิดรุนแรง - Vascular dissection 3 0.56 - septicemia 2 0.34 - Gall bladder infraction 1 0.19 รวม 6 1.09 รวมภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด 23 4.25 สรุปภาวะแทรกซ้อน
การเกิดภาวะแทรกซ้อน PTBD PCN จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ • ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 11 78.5 10 76.9 • มีภาวะแทรกซ้อน 3 21.5 3 23.1 • - สายระบายเลื่อน,หลุด 1 33 1 7.7 • - สายระบายอุดตัน 1 33 2 15.4 • - ติดเชื้อในทางเดินน้ำดี 3 100 - - • - ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ - - 2 15.4 • - ติดเชื้อบริเวณแผล 2 66 0 0 หมายเหตุ ผู้ป่วย 1 ราย อาจมีภาวะแทรกซ้อนมากกว่า 1 ชนิด ตารางแสดง ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการดูแลสายระบาย
4. แบ่งกลุ่มเพื่อทบทวนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (evidence base)
5. ร่างแนวทางการดูแลผู้ป่วย/คู่มือ/มาตรฐานการตรวจ 6. จัดทำแผนการนำ CPG ปฏิบัติ และรับข้อมูลสะท้อนกลับ 7. จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย/นำไปใช้ 8 ปรับปรุง CPG 10.นำการดูแลผู้ป่วยเป็นรายกรณีและการวางแผนจำหน่าย มาใช้กับผู้ป่วยที่ได้รับการใส่สายระบาย PTBD และ PCN
การประยุกต์ใช้การดูแลผู้ป่วยเป็นรายกรณีและการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยการประยุกต์ใช้การดูแลผู้ป่วยเป็นรายกรณีและการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ได้รับการใส่สายระบาย PTBD หรือ PCN ประเมินและรวบรวมข้อมูลต่างๆของผู้ป่วย • ผู้ป่วยและครอบครัว • - ข้อมูลทั่วไป • ผู้ดูแล • แหล่งประโยชน์ • ภาวะสุขภาพ • ระยะของโรค • การช่วยเหลือตนเอง • ค่าใช้จ่าย • เบิกได้ • ใช้สิทธิบัตรต่างๆ • จ่ายค่ารักษาเอง • กระบวนการพยาบาล • ปัญหาและข้อวินิจฉัย • วางแผน • ปฏิบัติ • ประเมินผล ก
ก วางแผนจำหน่าย แนะนำ, สอน, สาธิต, แจกคู่มือ, ทบทวน, ประเมิน • ติดตามแหล่งประโยชน์ • หน่วยเยี่ยมบ้าน เสี่ยง ไม่เสี่ยง ประเมินความพร้อมปัจจัยเสี่ยง พร้อม ไม่พร้อม ร่วมวิเคราะห์ปัญหา, หาแนวทางแก้ไข (ทางโทรศัพท์) กลับบ้าน • ติดตามทางโทรศัพท์ • ติดตามการ Readmission • ติดตามด้วยโทรศัพท์ • ติดตามการ Readmission
ความสามารถในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น/ภาวะแทรกซ้อนลดลงความสามารถในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น/ภาวะแทรกซ้อนลดลง ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวมมากขึ้น - ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลดลง/ลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียรายได้ของผู้ป่วยและญาติ - มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เป็นมาตรฐานและเป็นระบบที่ชัดเจน สร้างระบบส่งต่อและเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้เพิ่มขึ้น สรุปผลที่ได้รับ
Check list Angiography Procedure
ข้อมูล PTBD PCN • ค่าเฉลี่ย (M) ค่าเบี่ยงเบน (SD) ค่าเฉลี่ย (M) ค่าเบี่ยงเบน (SD) • ระยะเวลาในการ 2.3 1.9 2.3 1.21 • นอนโรงพยาบาล • ค่าใช้จ่ายในการ 7,857 3,026 7,033 550.75 • รักษาแต่ละครั้ง ตารางแสดง ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลและค่าใช้จ่ายในการรักษาแต่ละครั้ง
เผยแพร่แนวปฏิบัติแก่สถาบันอื่นๆเผยแพร่แนวปฏิบัติแก่สถาบันอื่นๆ
1. งานรังสีร่วมรักษามีลักษณะงานที่กว้างและครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยทุกแผนกของ โรงพยาบาลทำให้การสื่อสานข้อมูลไม่ทั่วถึง 2. มีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมาก 3.ขาดแคลนแพทย์และบุคลาการด้านนี้ 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้งาน และวิชาการใหม่ๆยังมีน้อย ปัญหา / อุปสรรค
* ควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนร่วมในการสั่งการรักษา , จัดส่งแนวทางการดูแลผู้ป่วย , แผนการจำหน่ายผู้ป่วย เพื่อให้การส่งข้อมูลต่างๆเป็นไปอย่างมีระบบรวมไปถึงใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูลต่างๆ ด้วยเพื่อให้การเก็บข้อมูลรวดเร็วและถูกต้อง แม่นยำมากขึ้น แนวโน้มในการพัฒนา • โปรแกรมฐานข้อมูล
ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานระหว่างกันในทีมให้มากขึ้น โดยการจัดการทำงานแบบหมุนเวียนหน้าที่กัน ส่งเสริมให้บุคลากรด้านนี้มีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ โดยจัดให้บุคลากรได้เข้าอบรมและดูงาน และสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ มีกลุ่มผู้ป่วยที่หลากหลาย น่าสนใจ ควรนำมาเป็นแรงกระตุ้นในการทำวิจัยให้มากขึ้น แนวโน้มในการพัฒนา
ทบทวนภาวะแทรกซ้อน • ทบทวนกระบวนการทำงาน • กำหนดแนวทางการปฏิบัติงาน • กำหนดผู้รับผิดชอบ • กำหนดเป้าหมาย • จัดตั้งทีมสหสาขาวิชาชีพครอบคลุมทุกหน่วยงาน • เผยแพร่แนวปฎิบัติในการประชุมต่างๆ • สร้างเครือข่าย • จัดระบบส่งต่อที่ชัดเจน • จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย • จัดทำโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล IVR • จัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วย 3 เรื่อง • จัดทำโครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย 2 โครงการ • จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน • จัดทำมาตรฐานการตรวจ • ติดตามตัวชี้วัด • วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค