1.18k likes | 1.98k Views
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน. รศ.ดร.เจียมจิต แสงสุวรรณ. เอกสารประกอบการสอน. คำนิยาม ผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของคณะฯที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ. เอกสารประกอบการสอน. รูปแบบ
E N D
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน รศ.ดร.เจียมจิต แสงสุวรรณ
เอกสารประกอบการสอน คำนิยาม ผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของคณะฯที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
เอกสารประกอบการสอน รูปแบบ เป็นเอกสารหรือสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้องในวิชาที่ตนสอนประกอบด้วย แผนการสอน หัวข้อบรรยาย และอาจมีสิ่งต่างๆเพิ่มขึ้นอีกได้ เช่นรายชื่อบทความหรือหนังสืออ่านประกอบ บทเรียบเรียงคัดย่อ เอกสารที่เกี่ยวเนื่อง แผนภูมิ แถบเสียง หรือ Power Point
เอกสารประกอบการสอน • การเผยแพร่ • จัดทำเป็นรูปเล่มหรือถ่ายสำเนาเย็บเล่ม • หรือเป็นสื่ออื่นๆเช่น ซีดีรอม ที่ได้ใช้ประกอบการสอนวิชาใด วิชาหนึ่งในหลักสูตรมาแล้ว • ลักษณะคุณภาพ อยู่ในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษาที่จะกำหนดเป็นข้อบังคับ
ระดับคุณภาพของเอกสารประกอบการสอนระดับคุณภาพของเอกสารประกอบการสอน • ความสมบูรณ์และถูกต้องของเนื้อหา • ความเหมาะสมของการจัดเนื้อหาในแต่ละบท/ตอน • ความเหมาะสมของการใช้ภาษา • ความถูกต้องและน่าเชื่อถือของเอกสารอ้างอิง ประกาศ ก.พ.อ. 2550
เอกสารประกอบการสอน รายละเอียดของรายวิชา(มคอ.3) แผนการสอน หัวข้อบรรยาย มีคำถามท้ายหัวข้อบรรยาย รายการอ้างอิง
กระบวนการเขียนเอกสารประกอบการสอนกระบวนการเขียนเอกสารประกอบการสอน • ส่วนประกอบและรูปเล่มของเอกสารประกอบการสอน • เนื้อหาและการนำเสนอเนื้อหา
ส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนการสอนส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนการสอน 1 ปกนอก 2 ปกใน 3 คำนำ 4 สารบัญ 5 สารบัญภาพ/ตาราง 6 รายละเอียดของรายวิชา (มคอ 3)
ส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนการสอนส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนการสอน 7 แผนการสอนรายหัวข้อ 8 แบบทดสอบก่อนเรียน 9 เนื้อหา 10 เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม 11 แบบฝึกหัดหรือคำถามท้ายบท 12 ภาคผนวก
ส่วนประกอบของแผนการสอนหรือรายละเอียดของรายวิชาส่วนประกอบของแผนการสอนหรือรายละเอียดของรายวิชา • ชื่อรายวิชา รหัสวิชา • จำนวนหน่วยกิต • คำอธิบายรายวิชา • จุดมุ่งหมายรายวิชา • หัวข้อหลัก/ย่อย และจำนวนชั่วโมงที่สอน • วิธีการสอนหรือกิจกรรมการเรียนรู้ • สื่อการเรียนการสอน • วิธีการประเมินผล • เกณฑ์การประเมินผล
ส่วนประกอบของแผนการสอนรายหัวข้อส่วนประกอบของแผนการสอนรายหัวข้อ • ชื่อหัวข้อเรื่องหลัก/หัวข้อย่อย • จำนวนชั่วโมงที่สอน • วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • วิธีการสอนหรือกิจกรรมการเรียนรู้ • สื่อการเรียนการสอน • วิธีการประเมินผล
ขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอนขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน • วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (หมวดที่ 2) • หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล • Curriculum Mapping ทำความเข้าใจ หลักสูตร (มคอ 2)
องค์ประกอบของ TQF มคอ. ๑ มาตรฐานคุณวุฒิระดับ....................สาขา/สาขาวิชา................. มคอ. ๒ รายละเอียดของหลักสูตร มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา มคอ. ๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา มคอ. ๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. ๗ รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร
TQF: HEd มคอ 1 มคอ 2 มคอ 3 มคอ 3 มคอ 4 มคอ 4 มคอ 5 มคอ 5 มคอ 6 มคอ 6 มคอ 7
The Process Flow OBE (Education) OBC (Curriculum) What the student should achieved? OBLT (Learning & Teaching) How to make the student achieve the outcome? OBA (Assessment) How to measure what the student has achieved? PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
OUTCOME BASED EDUCATION Program Educational Objectives(PAIs) Few years after Graduation – 4 to 5 years Upon graduation Program Learning Outcomes (PLO) Course Learning Outcomes (CLO) Upon subject completion PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
OBE Model Hierarchy PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
5-stage implementation of OBE curriculum PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
5-stage implementation of OBE curriculum PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
5-stage implementation of OBE curriculum PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
Analysis Analysis Analysis Missions Program Outcomes Program Objectives Course Outcomes Visions OUTCOME-BASED EDUCATION Assessment Assessment Assessment CQI CQI CQI Fakulti Kejuruteraan Elektrik
TQF: การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฎิบัติ มคอ1 บัณฑิตKKU มคอ5 Course Report มคอ3 Course Specification CQI CQI มคอ7 Program Report มคอ2 Program Specification CQI มคอ6 Field Experience Report CQI มคอ4 Field Experience Specification CQI CQI
OUTCOME BASED EDUCATION Starting with a clear picture of what is important for students to be able to do… Then organizing the curriculum, instruction and assessment to make sure learning happens… PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
OBE addresses the following questions: PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
RELATIONSHIPS BETWEEN CLO’S, PLO’S, PEO’S and COMPLIANCE TO THE STAKEHOLDERS Regulatory /Professional Bodies IHL requirements KPT/MQA Industrires STAKEHOLDERS students… ….. etc ….. etc PEO-1 PEO-2 PRORGRAME EDUCATIONAL OBJECTIVES PEO-5 PEO-4 PEO-3 PROGRAMME LEARNING OUTCOMES PLO-2 PLO-5 PLO-4 PLO-3 ….. etc PLO-1 Subject CLO-1 Subject CLO-2 Subject CLO-4 Subject CLO-3 Subject CLO-5 COURSE LEARNING OUTCOMES Management support and commitment PUAN DALMATAKSIAH BINTI MOHD ZAIN
TQF HEd: Thai Qualifications Framework for Higher Education เจตนารมณ์ของ TQF ในอนาคตนักศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตที่ลงทะเบียนเรียนจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งได้ ซึ่งในปัจจุบัน ได้มีโครงการความร่วมมือกันในลักษณะนี้ระหว่าง 3 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และประเทศไทย (MIT Student Mobility Project) ดร.พรชัย แคล้วอ้อม 2555
TQF: กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง การจัดการศึกษาที่ถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด เป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องเน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้และพัฒนาความรู้ได้ด้วยตนเองหรือรวมทั้งมีการฝึกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทำงาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช้ มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให้ผู้เรียนดิดวิเคราห์ สังเคราะห์ประเมินและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆนอกจากนี้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยสะท้อนจากการที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทำโครงงานหรือชิ้นงานในหัวข้อที่สนใจในขอบเขตเนื้อหาของวิชานั้นๆ
TQF: การเรียนรู้ และมาตรฐานผลการเรียนรู้ มาตรฐานผลการเรียนรู้ คือ ข้อกำหนดเฉพาะซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านที่ได้รับการพัฒนาระหว่างการศึกษา จากการเรียนและการเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาจัดให้ทั้งในและนอกหลักสูตรและแสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจและความสามารถจากการเรียนรู้เหล่านั้นได้อย่างเป็นที่เชื่อถือเมื่อเรียนจบในรายวิชาหรือหลักสูตรนั้นแล้ว การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้นในตนเองจากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการศึกษา
กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ • มีความทันสมัย • เน้นการมีส่วนร่วม • เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง • ผู้เรียนคิด และหาคำตอบด้วยตนเอง • ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กระบวนการเรียนรู้ • บูรณาการความรู้กับความรู้อื่นๆ • บูรณาความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ • บูรณาการความรู้กับจิตใจ • บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทำ • บูรณาการความรู้กับชีวิตประจำวัน
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย • ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) • ด้านความรู้ (Knowledge) • ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) (๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) (๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) (๖) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Skill)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม(Ethics and Moral)
ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility)
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
วิเคราะห์หลักสูตรก่อนทำ มคอ. ๓
ต้องทำอะไรบ้างกับผลการเรียนรู้ที่ได้รับมาจากรายวิชาที่ต้องรับผิดชอบต้องทำอะไรบ้างกับผลการเรียนรู้ที่ได้รับมาจากรายวิชาที่ต้องรับผิดชอบ
1. ต้องเข้าใจความหมายของผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้: เป็นผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษาที่ผู้สอนจงใจหรือคาดหวังให้นักศึกษามีการพัฒนาขึ้นในตนเองจากประสบการณ์ที่จัดให้จากการเรียนรู้ในรายวิชา
2. ต้องรู้ว่าหลักสูตร(ผลการเรียนรู้)คาดหวังอะไรจากรายวิชา
3. ผลการเรียนรู้ที่มอบหมายให้หมายถึงอะไร มคอ. 2 มคอ. 3
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลักสูตร วทบ.สาขาความสุข แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้รายวิชา 111 555 ความสุขของชีวิต
การเขียนวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการเขียนวัตถุประสงค์ของหลักสูตร • เพื่อสร้างคนให้เป็นคนอย่างไร เช่น เป็นคนคิดเป็น ทำเป็น ประพฤติชอบ มีสุขภาพดี
การเขียนจุดมุ่งหมายของรายวิชาการเขียนจุดมุ่งหมายของรายวิชา • เป็นวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นในแนวกว้าง ๆ ของผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ว่าเมื่อมีการเรียนการสอนแล้วผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรบ้างซึ่งเป็นแต่เพียงกรอบ หรือแนวกว้าง ๆ ของผลการเรียนรู้แต่ละด้านของรายวิชา
การเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้การเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ • กระชับ ชัดเจน • มีลักษณะชี้เฉพาะเจาะจง • เป็นพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้ • มีความเป็นไปได้ • สามารถวัดได้ • เป็นสิ่งที่ผู้เรียนแสดงออกหลังจากเกิดการเรียนรู้แล้ว
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียน:แผนการสอนการเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียน:แผนการสอน องค์ประกอบของการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียนเชิงพฤติกรรม • พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) • เงื่อนไขหรือสถานการณ์ (Condition or Situation) • เกณฑ์ (Criteria)
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) ขั้นตอน พฤติกรรมการเรียนรู้ ตั้งสมมุติฐาน ออกแบบ สร้าง Creating สร้างสรรค์ ตัดสิน, พิจารณา, ประเมิน, ให้น้ำหนัก , ตีราคา, วัดผล, เปรียบเทียบ, ให้คะแนน, ให้ข้อคิดเห็น วิเคราะห์, จุดเน้น ประเด็น เปรียบเทียบ, แยกแยะ, ทดสอบ,ตรวจสอบ, โต้แย้ง, ให้เหตุผล ประยุกต์ใช้ในงานประจำ/ชีวิตประจำวัน ประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ บอกความแตกต่าง ความคล้ายคลึง, จัดประเภท แปลความหมาย ขยายความ,, ยกตัวอย่าง, เปรียบเทียบ, สรุป ย่นย่อ บอก, ชี้, บ่ง, ให้รายการ, จับคู่, บอกข้อ, ให้นิยาม, ระบุ
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor skills)ในหน่วยการเรียน:แผนการสอน