1 / 3

นายธำรงศิลป โพธิสูง

โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นายธำรงศิลป โพธิสูง. ผลงานวิจัย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างพันธุ์แท้โดยวิธีจดประวัติประยุกต์ (Modified Pedigree Selection) เพื่อใช้เป็นพันธุ์ส่งเสริมและเป็นแหล่งพันธุกรรม สำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง

Download Presentation

นายธำรงศิลป โพธิสูง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายธำรงศิลป โพธิสูง ผลงานวิจัย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างพันธุ์แท้โดยวิธีจดประวัติประยุกต์ (Modified Pedigree Selection) เพื่อใช้เป็นพันธุ์ส่งเสริมและเป็นแหล่งพันธุกรรม สำหรับปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง เป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จนถึงปัจจุบัน โดยมีสายพันธุ์แท้ส่งเสริมให้แก่เกษตรกร 5 พันธุ์ และข้าวฟ่างลูกผสม 5 พันธุ์ คือ - พันธุ์ เคยู 439 และเคยู 408 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2526 - พันธุ์ เคยู 8501 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2529 - พันธุ์ เคยู 526 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2528 - พันธุ์ เคยู 8702 และ เคยู 8703 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2531 - พันธุ์ เคยู 630 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2530 - พันธุ์ เคยู 9501 และ เคยู 9502 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2538 - พันธุ์ เคยู 804 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2532 - พันธุ์ เคยู 900 และ เคยู 901 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2541 • การปรับปรุงประชากรข้าวฟ่างโดยวิธี S1 selection และ S2 selection : ผู้ร่วมโครงการเป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522-2528 โดยใช้สายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันแบบ genetic male sterile • ในปี พ.ศ. 2528 ได้มีประชากรข้าวฟ่างจำนวน 8 ประชากร เพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง คือ KU. Population 1-8 • การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมของประเทศไทย : ผู้ร่วมโครงการในปี พ.ศ. 2522-2525 และเป็นหัวหน้าโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึงปัจจุบัน • ทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมของบริษัทเอกชนและของทางราชการที่จำหน่ายในประเทศไทย ซึ่งมีข้าวฟ่างลูกผสมพันธุ์ใหม่ออกสู่ตลาดทุกปี จึงทำการทดสอบต่อเนื่องเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับแนะนำเกษตรกร • การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างลูกผสมสามทาง (Three way cross hybrid) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2525-2526 : ผู้ร่วมโครงการ

  2. การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างจากต่างประเทศ (exotic sorghum) ร่วมกับ ICRISAT ประเทศอินเดีย โดยทำการทดสอบดังนี้ • ปี พ.ศ. 2522 ทดสอบพันธุ์ชุด ISPYT 1 และ ISPYT 2 • ปี พ.ศ. 2523-2524 ทดสอบพันธุ์ SEPON 80 และ SEPON 81 • ปี พ.ศ. 2532-2536 ทดสอบพันธุ์ (ISHVAT-MED 89-92) • การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างต้านทานต่อหนอนแมลงวันเจาะยอดข้าวฟ่าง (Shootfly Resistance) : หัวหน้าโครงการ • ทำการวิจัยในปี พ.ศ. 2523-2524 และทำการวิจัยต่อในปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน • การพัฒนาข้าวฟ่างลูกผสมเพื่อใช้เป็นพันธุ์ปลูกในประเทศไทย : ผู้ร่วมโครงการ • โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 จนถึงปัจจุบัน โดยมีข้าวฟ่างลูกผสมส่งเสริมให้แก่เกษตรกร 5 พันธุ์ คือ • พันธุ์ เคยู 8501 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2528 พันธุ์ เคยู 8702 และ 8703 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2530 พันธุ์ เคยู 9501 และ 9502 ส่งเสริมในปี พ.ศ. 2539 • การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างอาหารสัตว์ (Forage Sorghum) โดยวิธีการจดประวัติ (Pedigree Selection) : ผู้ร่วมโครงการ • โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2536 ได้แนะนำพันธุ์ข้าวฟ่างอาหารสัตว์สู่เกษตรกร 2 สายพันธุ์ คือ พันธุ์กลางดง 1 และกลางดง 2การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างหวาน (Sweet Sorghum) : ผู้ร่วมโครงการ • โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-2532 ได้รวบรวมและพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างหวานไว้ใช้ประโยชน์ในอนาคต จำนวน 10 สายพันธุ์ • การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างทนทานต่ออลูมินัม (Aluminum Toxicity Tolerance) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2526-2528 : ผู้ร่วมโครงการ • การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างสายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันที่ไซโตปลาสซึมแบบ A-1 และ A-2 โดยวิธีการผสมกลับ : ผู้ร่วมโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526-2535 และเป็นหัวหน้าโครงการตั้งแต่ปี 2536 ถึงปัจจุบัน • โครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 จนถึงปัจจุบัน ได้สายพันธุ์เพศผู้เป็นหมันที่ใช้ เป็นสายพันธ์แม่ในการผลิตข้าวฟ่างลูกผสม จำนวน 10 สายพันธุ์ • การศึกษาสมรรถนะการผสมพันธุ์ของข้าวฟ่าง 8 สายพันธุ์ โดยวิธีการผสมพันธุ์แบบพบกันหมด (Diallele Cross) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2527-2528 : หัวหน้าโครงการ • การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างให้มีคุณค่าทางอาหารในเมล็ดสูง ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2534 : ผู้ร่วมโครงการ

  3. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างต้านทานต่อโรคราบนช่อข้าวฟ่าง (head mold) ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2534 : ผู้ร่วมโครงการ • การทดสอบพันธุ์ข้าวฟ่างไม้กวาด ดำเนินการในปี พ.ศ. 2531 : หัวหน้าโครงการ • การคัดเลือกพันธุ์หญ้าไข่มุก (Pearl Millet ) เพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์ ดำเนินการในปี พ.ศ. 2531-2533 และรายงานผลงานวิจัยในผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนโครงการน้ำพระทัยจากในหลวง (อีสานเขียว) : ผู้ร่วมโครงการ • การคัดเลือกพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวฟ่างไม้กวาดสำหรับเพาะปลูกในประเทศไทย ดำเนินการในปี พ.ศ. 2532-2533 และรายงานผลงานวิจัยในผลงานวิจัยเพื่อสนับสนุนโครงการน้ำพระทัยจากในหลวง (อีสานเขียว) : หัวหน้าโครงการ

More Related