300 likes | 941 Views
พัฒนาการทางการบริหาร. สถาบันสังคม สังคมของมนุษย์เป็นสังคมที่มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม หมู่เหล่า เป็นชุมชนขนาดต่าง ๆ . วิลเลียม ซิฟฟิน ( William S. Siffin) " หากปราศจากองค์การบริหารแล้ว สังคมก็จะไม่มี หากปราศจากสังคมแล้ว มนุษย์ก็ไม่อาจจะดำรงชีวิตอยู่ได้.
E N D
พัฒนาการทางการบริหาร สถาบันสังคมสังคมของมนุษย์เป็นสังคมที่มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม หมู่เหล่า เป็นชุมชนขนาดต่าง ๆ
วิลเลียม ซิฟฟิน (William S. Siffin) "หากปราศจากองค์การบริหารแล้ว สังคมก็จะไม่มี หากปราศจากสังคมแล้ว มนุษย์ก็ไม่อาจจะดำรงชีวิตอยู่ได้
การบริหาร(Administration) และ การจัดการ(Management) การบริหาร มักจะใช้กับการบริหารกิจการสาธารณะหรือการบริหารราชการ การจัดการ ใช้กับการบริหารธุรกิจเอกชน
การบริหาร - Peter F. Drucker : ศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น- Harold koontz : การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการอาศัยคน เงิน วัตถุสิ่งของ เป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน- Herbert A. simon : กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกัน
การบริหาร หมายถึง การใช้ศาสตร์และศิลป์ของบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินกิจกรรมหรืองานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ร่วมกัน โดยอาศัยกระบวนการ และทรัพยากรทางการบริหารเป็นปัจจัยอย่างประหยัด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ปัจจัยสำคัญการบริหารที่สำคัญมี 4 อย่าง ที่เรียกว่า 4Ms ได้แก่ 1. คน (Man) 2 เงิน (Money) 3. วัสดุสิ่งของ(Materials) 4. การจัดการ (Management)
ทฤษฎี ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมแนวคิด และหลักการต่าง ๆ ให้เป็นกลุ่มก้อน ยังไม่มีทฤษฎีใดที่สามารถช่วยอธิบายปรากฏการณ์ในการบริหารงานได้หมด อาจจำเป็นต้องใช้หลาย ๆ ทฤษฎีในการแก้ปัญหาหนึ่ง
คู๊นท์ (Koontz) หลักในการบริหารงานนั้นจะดีหรือมีประสิทธิภาพหรือไม่นั้น ควรคำนึงถึงลักษณะของทฤษฎีในเรื่องต่อไปนี้1. การเพิ่มประสิทธิภาพของงาน2. การช่วยวิเคราะห์งานเพื่อปรับปรุงพัฒนา3. การช่วยงานด้านวิจัยขององค์การให้ก้าวหน้า4. ตรงกับความต้องการของสังคม5. ทันสมัยกับโลกที่กำลังพัฒนา -
ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1887-1945)ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1887-1945) (The Scientific Management Point of View) • ทัศนะเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (1945-1958) (The Human Relationship Point of View) • ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์(1958-1970) (The Behavioral Science Point of View) • ทัศนะวิธีเชิงระบบ(1970-ปัจจุบัน) (The Systems Approach Point of View)
1. ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ • กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์Federic W. Taylor • 1.อยู่ที่รู้อย่างแน่นอนว่าเราต้องการให้คนทำอะไร • และดูแลว่าเขาได้ทำงานอย่างดีที่สุดและประหยัดค่าใช้จ่าย • ที่สุด • 2.ไม่นำแผนการบริหาร ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างมาใช้
3.คนงานต้องการค่าจ้างที่สูง และสิ่งที่นายจ้าง ต้องการจากคนงานมากที่สุดก็คือ ค่าใช้จ่ายในการผลิต ต่ำ
กลุ่มการบริหารจัดการของ Fayol (Administration Management) (บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการ) 1. การวางแผนงาน(To Plan) การวิเคราะห์อนาคตและจัดวางแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า 2. การจัดหน่วยงาน(To Organize) การเสริมสร้างองค์การด้านคนและวัสดุสิ่งของ เพื่อการปฏิบัติการตามแผน 3. การบังคับบัญชา(To Command) การควบคุมบังคับบัญชาให้คนงานปฏิบัติงานตามหน้าที่
4. การประสานงาน (To Coordinate) การประสานกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานให้ดำเนินไปตามเป้าหมาย 5. การควบคุม (To Control) การควบคุมดูแลให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎเกณฑ์
หลักการบริหารของ Gulik หลักการบริหารควรประกอบด้วย(POSDCoRB) P-Planning หมายถึง การวางแผน O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S-Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D-Directing หมายถึง การสั่งการ Co-Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ R-Reporting หมายถึง การรายงาน B-Budgeting หมายถึง งบประมาณ
ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบราชการ(Bureaucracy) ของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) 1. หลักของฐานอำนาจจากกฎหมาย 2. การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ต้องยึด ระเบียบกฎเกณฑ์ 3. การแบ่งงานตามความชำนาญการเฉพาะทาง 4. การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว 5. มีระบบความมั่นคงในอาชีพ
2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์ • ฟอลเล็ตต์ (Follett) กล่าวว่าปัญหาของการบริหารขององค์การใด ๆ รวมถึงโรงเรียนจะต้องมองไปที่มนุษยสัมพันธ์
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ • แก้ไขความแตกต่าง โดยผ่านทางการประชุมและความร่วมมือมากกว่าจะใช้กฎระเบียบ • ความคิดของแต่ละกลุ่ม มาจากข้อเท็จจริงของสถานการณ์ • แต่ละกลุ่มจะต้องเข้าใจทัศนะซึ่งกันและกัน • กลุ่มคนใดในองค์การใดๆ จะมีเป้าหมายร่วนกันและดำเนินงานด้วยความสามัคคี เพื่อให้เป้าหมายนั้นประสบกับความสำเร็จ
การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษาการประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา • ผู้บริหารควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม • ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น • ผู้บริหารสามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้
4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน ผู้บริหารจะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง 5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจนั้นด้วย
3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์ กล่าวถึงประสิทธิภาพกับการบริหาร การบริหารที่มีประสิทธิภาพต้องมีทางเลือกในการแก้ปัญหา(Alternative) หลาย ๆ ทางและควรเลือกทางในการแก้ปัญหาที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่สามารถทำงานบรรลุผล
Abraham Maslow (1908-1970) บุคคลได้รับการกระตุ้นโดยความต้องการและจะกระทำเพื่อให้ได้รับการตอบสนองความต้องการตามลำดับขั้น
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้นตั้งแต่ความต้องการพื้นฐานต่ำสุดไปถึงสูงสุดคือ1. ทางกายภาพ(Physiological needs)2. ความปลอดภัย(Safety needs)3. ทางสังคม(Social needs)4. ยกย่องชื่อเสียง( Esteem needs)5. สมหวังและความสำเร็จของชีวิต (Self-actualization needs)
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ Douglas Mc Gregor • - ทฤษฎี X(Theory X) มองว่าพนักงานเกียจคร้านไม่กระตือรือร้นไม่ชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงาน • - ทฤษฎี Y(Theory Y) มองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทำงานและไม่มีความเบื่อหน่ายในการทำงาน
- แมคเกรเกอร์ได้เรียกร้องให้ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงมุมมองมนุษย์จากมุมมองตามทฤษฎี X ไปเป็นมุมมองตามทฤษฎี Y
ทฤษฎี Z ของอูชิ (Ouchi ) • รวมเอาหลักการของทฤษฎี X , Y เข้าด้วยกัน • องค์การต้องมีหลักเกณฑ์ที่ควบคุมมนุษย์ • มนุษย์รักความเป็นอิสระ มีความต้องการ • ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องปรับเป้าหมายขององค์การให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ
4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ ระบบในเชิงบริหาร หมายถึงองค์ประกอบหรือปัจจัย ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันและมีส่วนกระทบต่อปัจจัยระหว่างกัน ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
ระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบห้าส่วนคือระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบห้าส่วนคือ 1. ปัจจัยนำเข้า (Input) 2. กระบวนการเปลี่ยนแปลง (Transformation process) 3. ปัจจัยส่งออก (Outputs) 4. สิ่งป้อนกลับ (Feedback) 5. สภาพแวดล้อม (External environment)