1 / 64

อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน

อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน The Influence of Factors affecting teaching methods using Information Technology นายจักรพงศ์ สุวรรณรัศมี. 1. ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3. การทบทวนวรรณกรรม 4. กรอบแนวความคิด

saniya
Download Presentation

อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน The Influence of Factors affecting teaching methods using Information Technology นายจักรพงศ์ สุวรรณรัศมี

  2. 1. ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3. การทบทวนวรรณกรรม 4. กรอบแนวความคิด 5. ระเบียบวิธีวิจัย 6. ผลการวิจัย 7. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ประเด็นการนำเสนอ

  3. 1. ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา(1) อิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน์-สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมสารสนเทศและสังคมฐานความรู้-โลกธุรกิจยอมรับ ICT เป็นเครื่องมือสำคัญในความสำเร็จขององค์กร-เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระบวนการพัฒนาการศึกษาของประเทศ(2) นโยบายของประเทศ-นโยบายสารสนเทศแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะทางด้าน ICT ในทุกระดับ(2) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและ สพฐ.-สนับสนุนสถานศึกษาในทุกเขตพื้นที่นำระบบICTไปใช้ในการสอน

  4. ความสำคัญของปัญหา นักวิจัยและนักการศึกษาต่างพบว่า(1) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ของนักเรียนมีไม่มากพอ (Tsichvitzis, 1999) (2) อุปสรรคของเวลา การได้รับการสนับสนุน และแบบฝึกหัดที่จะนำมาใช้ไม่เป็นปัจจุบัน (Collis, 1998) (3) การไม่กระจายการใช้งานเทคโนโลยีร่วมกัน จากแหล่งข้อมูลอย่างทั่วถึง (Alexander & McKenzie, 1998) (4) การขาดขั้นตอนการออกแบบสำหรับการนำเทคโนโลยีไปใช้ในการสอน (Digkstra, Collis & Eseryel, 1999) (5) โครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เท่าเทียมกันของครูผู้สอน รวมถึงการลงทุนของรัฐในการวางระบบ และการจัดสร้างฮาร์ดแวร์ให้เป็นปัจจุบัน (พิเชฐ และคณะ, 2543)

  5. ความสำคัญของปัญหา (ต่อ) กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ผลักดันนโยบาย ICT ไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ผลที่ได้รับไม่บรรลุเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและคุณภาพการสอนของครูต่ำลงทุกปี สำหรับเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีทั้ง 3 เขต พบว่ามีการนำ ICT ไปใช้ในขอบเขตค่อนข้างจำกัด และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไม่บรรลุผลตามเป้าหมาย

  6. อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยที่มีความสำคัญ และมีอิทธิพลต่อการใช้ ICT ในการสอนของครูผู้สอน ได้แก่ (1) ทัศนคติต่อ ICTของครูผู้สอน (2) การพัฒนาวิชาชีพทาง ICT ของครู (3) การยอมรับ ICT ของครู (4) ทักษะทาง ICT ของครู (5) การจัดการความรู้ของครู ปัจจัยดังกล่าว เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ ICT ในการจัดการเรียนการสอนของครู ซึ่งผู้วิจัยนำมาใช้เป็นตัวแปรสำหรับการศึกษา

  7. 1) ระดับของปัจจัยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน 2) อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

  8. 3. การทบทวนวรรณกรรม (1) การจัดการความรู้ของครู ( TKM) มีทฤษฎีหลายทฤษฎีที่มีส่วนเกี่ยวข้องและนำมาใช้เป็นกรอบแนวคิดของการจัดการความรู้อาทิ - รูปแบบเซกิ (SECI model) ของ Nonaka & Takeuchi (1995) - องค์กรแห่งการเรียนรู้ของ Marguardt (1996) - โมเดลปลาทู ของสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (2548) จากแนวคิดและทฤษฎีของนักวิจัย การจัดการความรู้ของครูเป็นตัวแปรแสดงถึงประสิทธิภาพของครู มีความสำคัญต่อการเรียนรู้ของนักเรียน หากสรุปแล้วกระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย

  9. การจัดการความรู้ของครูการจัดการความรู้ของครู TKM การสร้างสะสมความรู้ การนำความรู้ไปใช้ การแลกเปลี่ยนความรู้ Alavi (1997) Demarest (1997) Davenport & Prusak (1997)

  10. (2) การใช้ ICTจัดการเรียนการสอน (TIUICT) การจัดการสอนโดยเทคโนโลยีสารสนเทศ มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี Constructionism ของ Papert & Harel (2006) ที่เน้นการคิด การสร้าง และการพัฒนา การนำ ICT ไปใช้ในการสอนจะมีความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมของครู วิธีการสอน และความเหมาะสมในการใช้ ICT ที่เหมาะสม (Glickman, 2002; Bruner, 1993; Jager & Lokman, 2005; Wu & Lee, 2005) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อครู ในการบูรณาการ ICT ในการสอน ได้แก่ ทัศนคติ ทักษะของครู การสนับสนุนการจัดการ ความร่วมมือของกลุ่ม และการยอมรับของนักเรียน (Wu & Lee, 2005) ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการ ในการใช้ ICT ให้บรรลุผล คือ ความใกล้ชิดของครูกับการสอน การใช้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่ดี และการสร้างเครือข่ายกับกลุ่ม (Gaynor, 2005)

  11. การใช้ ICTจัดการเรียนการสอนต้องปรับบทบาทครูผู้สอน การใช้ ICTจัดการเรียนการสอน TIUICT การสนับสนุนผู้เรียน ESUIT การจัดกิจกรรมการสอน TOA การใช้สื่ออิเลคทรอนิคส์ EMU

  12. (3) การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอน (TICTA) รูปแบบการยอมเทคโนโลยีสารสนเทศ มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี การยอมรับ คือ (1) ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned: TRA) (Ajzen & Fishbein, 1980) (2) ทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรม (Theory of Planned: TPB) (Ajzen, 2006)

  13. รูปแบบการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model: TAM) (Davis, 1989) ประกอบด้วย การยอมรับ ICT TICTA การรับรู้ถึงคุณประโยชน์ PU การรับรู้ถึงความสะดวกสบาย PEOU ความตั้งใจในการใช้ IU

  14. (4) ทัศนคติต่อเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอน (TATICT) ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action: TRA) และทฤษฎีวางแผนพฤติกรรม (Thory of Planned behavior: TPB) (Ajzen, 2006; Ajzen & Fishbein, 1980) ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยทัศนคติที่มีต่อพฤติกรรมทั้งทางตรง และทางอ้อม การเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ที่เป็นพฤติกรรมโดยเฉพาะ การปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติของพฤติกรรม อันเกิดจากแรงกดดันทางสังคม ทัศนคติเกิดขึ้นก่อนพฤติกรรม และเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของบุคคล

  15. องค์ประกอบทางทัศนคติ แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ (Dillon & Kumar, 1985; PLATO, 2006) ได้แก่ การรับรู้ ความรู้สึกต่อสิ่งเร้า และแนวโน้มเชิงพฤติกรรม สำหรับทัศนคติของครูทาง ICT ที่มีต่อการนำไปใช้ในการสอนจะเกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้จัก ICT อารมณ์ความรู้สึกที่แสดงความชอบ-ไม่ชอบและแนวโน้มพฤติกรรมในการใช้ ทัศนคติต่อ ICT TATICT การรู้จัก KI ความชอบ/ไม่ชอบ LIKE แนวโน้มที่จะใช้ TBE

  16. (5) ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของครู (TICTS) ครูที่ได้รับการฝึกฝนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะมีความสามารถกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการแก้ปัญหาได้ดี (Wenglinsky, 1998) ทักษะความรู้ทาง ICT มีความสัมพันธ์อย่างสูงต่อการ บูรณาการ ICT ในชั้นเรียน (WADET, 2005) เป้าหมายสูงสุดของประสิทธิภาพการใช้ ICT คือการสร้างทักษะพื้นฐานและความเชื่อมั่นทางเทคโนโลยีของครูผู้สอน (Williams et al , 1998)

  17. ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับทักษะทาง ICT จะประกอบไปด้วย (Smerdon et al., 2000) ทักษะทาง ICT TICTS การปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์พื้นฐาน BCO การจัดการ ข้อมูล FMA การติดต่อ สื่อสาร COM การใช้โปรแกรม พื้นฐาน BSPU

  18. (6) การพัฒนาวิชาชีพทาง ICT ของครู (TPICTD) แนวคิดของนักวิจัย และนักการศึกษา ที่แสดงให้เห็นว่าโอกาสการได้รับการฝึกอบรมเป็นพื้นฐานสำคัญ และมีความจำเป็นต่อการพัฒนาวิชาชีพทาง ICT (Mulkeen, 2006; Fluck, nd; UNESSCO, 2002) ความต่อเนื่องในการพัฒนาความรู้ เป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญทาง ICT (CDE, 2001; Naace, 2004; Dagince, 2005) การเข้าถึง ICT อยู่เป็นประจำจะทำให้การพัฒนาทักษะ ทัศนคติในการใช้เทคโนโลยี มีผลต่อการเรียนการสอน (Bebell et al., 2004; NSF, 2002; Coppola, 2004) การได้รับการสนับสนุนทรัพยากร เป็นปัจจัยในการเพิ่มสมรรถภาพการพัฒนาอาชีพทาง ICT ต่อการนำไปใช้ในการสอน (NCREL, 2006; Zhiting, 2003)

  19. การพัฒนาวิชาชีพทาง ICT ของครู (TPICTD) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลสำคัญสุด ต่อความรู้ และทักษะของครู การพัฒนาวิชาชีพทาง ICT ของครู TPICTD การได้รับ การฝึกอบรม RT ความต่อเนื่องใน การพัฒนาความรู้ CKD โอกาสการ เข้าถึงICT AOI การได้รับการ สนับสนุนทรัพยากร RS

  20. RT CKD AOIT RS KCA 4. กรอบแนวความคิด KS TPICTD TKM KU ESUIT KI TATICT TIUICT TOA LIKE EMU TBE TICTA TICTS PU PEOU IU BCO FMA COM BSPU

  21. สมมติฐานการวิจัย สมมติฐาน ข้อ 1 การใช้ ICTของครู ขึ้นอยู่กับการจัดการความรู้ทักษะ การพัฒนาวิชาชีพ การยอมรับและทัศนคติต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ TIUICT = ƒ(TATICT, TICTA, TPICTD, TICTS,TKM)……….....(1) สมมติฐาน ข้อ 2 การจัดการความรู้ของครูขึ้นอยู่กับทักษะทาง ICT ของครู TKM = ƒ(TICTS) ……………………………………...................(2) สมมติฐาน ข้อ 3 ทักษะทาง ICT ของครูขึ้นอยู่กับการพัฒนาวิชาชีพ ICT ของครู TICTS = ƒ(TPICTD) ……………..................................................(3) สมมติฐาน ข้อ 4 ทัศนคติต่อ ICT ของครูมีผลต่อการพัฒนาวิชาชีพ ICT ของครูและการยอมรับICTของครู TATICT= ƒ(TICTA, TPICTD) ……………….............................(4)

  22. 5.ระเบียบวิธีวิจัย1) แนวทางที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ใช้ลักษณะการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพการศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามที่จัดสร้างขึ้นผ่านการทดสอบความเชื่อถือได้ ไปใช้สอบถามกลุ่มประชากรตัวอย่างซึ่งเป็นครูผู้สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีเขต 1, 2 และ 3 การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ในสังกัดสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีเขต1, 2และ 32) ประชากรเป้าหมาย คือผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรีเขต1, 2 และ 3จำนวน 3,065 คน

  23. 3) วิธีการสุ่มตัวอย่างแนวทางเชิงปริมาณ : ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) ( 1) ประมาณการขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Yamane (1967) ( 2) สุ่มกลุ่มตัวอย่างตามหน่วยพื้นที่การศึกษา ( 3 ) สุ่มกลุ่มตัวอย่างครูจากหน่วยสุ่มโรงเรียน โดยเจาะจงเฉพาะครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา โดยกำหนดโควต้า 1 โรงเรียนต่อครู 5 คนแยกตามสาขาวิชา ได้กลุ่มตัวอย่างครู 515 คน แนวทางเชิงคุณภาพ : ใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาอำเภอละ 1 คน รวม 11 คน ครูผู้สอนอำเภอละ 1 คน รวม 11 คน

  24. คุณลักษณะเบื้องต้นของประชากรเป้าหมาย(515 ราย)

  25. 4) การสร้างมาตรวัดก่อนนำมาตรวัดไปใช้ได้ทดสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของมาตรวัด - ความถูกต้องของเนื้อหา;ได้จากการประมวลผลรายการข้อความ ข้อคำถามที่นักวิชาการทั้งหลายใช้ในการจัดเก็บข้อมูล - ความเชื่อได้; ได้จากการทดสอบความเชื่อถือได้ ด้วยการทดสอบครูผู้สอนจำนวน 50 คน พบว่า มาตรวัดแต่ละรายการของตัวแปรแต่ละด้านมีความความเชื่อถือได้ปานกลาง ถึงความเชื่อถือได้ค่อนข้างสูง

  26. 5) การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้วิธีการทางสถิติ ดังต่อไปนี้ 1) สถิติเชิงพรรณนา ผู้วิจัยใช้สถิติพรรณนา เพื่อชี้ให้เห็นถึงลักษณะของตัวแปรทุกตัว และมาตรวัดทุกมาตรวัดที่ใช้ในการวิจัย 2) ใช้โปรแกรมลิสเรล (LISREL Program) เพื่อวิเคราะห์โมเดลโครงสร้างเชิงเส้นตรง (Structural Equation Model [SEM]) หาความสัมพันธ์ของแบบจำลองโครงสร้าง ประกอบด้วย (1) แบบจำลองมาตรวัด (Measurment Model) และ(2) แบบจำลองโครงสร้างความสัมพันธ์ (Structural Model)3) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์ โดยรวบรวมประเด็นข้อความที่สำคัญจากการสัมภาษณ์ เพื่อนำผลการวิเคราะห์ไปสนับสนุนการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

  27. ผลการวิจัย ระดับของปัจจัยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ในการสอนของครูผู้สอน ผู้วิจัยใช้สถิติพรรณนาวิเคราะห์ตัวแปรเชิงปริมาณและเสริมข้อค้นพบด้วยแนวทางเชิงคุณภาพ

  28. การจัดการความรู้ของครูผู้สอน(515ราย)การจัดการความรู้ของครูผู้สอน(515ราย)

  29. การจัดความรู้ของครูผู้สอน

  30. ทัศนคติต่อ ICT ของครูผู้สอน (515)

  31. ทัศนคติต่อ ICT ของครูผู้สอน

  32. การยอมรับ ICT ของครูผู้สอน (515 ราย)

  33. การยอมรับ ICT ของครูผู้สอน

  34. การพัฒนาวิชาชีพทาง ICT ของครูผู้สอน (515 ราย)

  35. การพัฒนาวิชาชีพ ICT ของครูผู้สอน

  36. ทักษะทาง (ICT) ของครูผู้สอน (515ราย)

  37. ทักษะทาง (ICT) ของครูผู้สอน

  38. การใช้ ICTในการสอนของครูผู้สอน (515 ราย)

  39. การใช้ ICT ในการสอนของครูผู้สอน

  40. ผลการวิจัย อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ ในการสอนของครูผู้สอน ผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบจำลองโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม LISREL (1) วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝงกับตัวชี้วัด : เพื่อทดสอบคุณภาพของการวัด (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝงด้วยกัน : ทดสอบเนื้อหาทางทฤษฎี (3) วิเคราะห์อิทธิพลของทางตรง ทางอ้อม ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิเคราะห์ได้แสดงให้เห็นค่าความเชื่อถือได้ของการวัด (R2) โดยแสดงให้ เห็นถึงสัดส่วนของการผันแปรของตัวชี้วัดที่ถูกอธิบายได้โดยตัวแปรแฝง

  41. ความเที่ยง (Pc) ของตัวแปรแฝง ความแปรปรวนเฉลี่ย ของตัวแปรที่สกัดได้ด้วยองค์ประกอบ (Pv) และค่าความเที่ยงของตัวแปร (R2)

  42. ทดสอบสมการมาตรวัด KCA = 2.25*TKM, Errorvar.= 13.35, R2 = 0.16…………………………………..(5.1) (1.00) 13.29 KS = 14.67*TKM, Errorvar.= 163.39, R2 = 0.39………………………………..(5.2) (1.87) (21.35) 7.84 7.65 KU = 11.90*TKM, Errorvar. = 51.34, R2 = 0.58………………………...………(5.3) (2.52) (12.57) 4.73 4.08

  43. ทดสอบสมการมาตรวัด • RT = 3.96*TPICTD, Errorvar. = 66.58, R2 = 0.19………………(5.4) • (4.44) • 14.99 • CKD = 1.34*TPICTD, Errorvar. = 17.78, R2 = 0.091………………(5.5) (0.25) (1.14) • 5.33 15.58 • AOI = 1.18*TPICTD, Errorvar. = 4.18, R2 = 0.25…………………(5.6) • (0.16) (0.29) • 7.43 14.27 • RS = 0.93*TPICTD, Errorvar. = 7.49, R2 = 0.10………...………(5.7) • (0.17) (0.48) • 5.60 15.51

  44. ทดสอบสมการมาตรวัด BCO = 2.41*TICTS, Errorvar. = 2.90, R2 = 0.66………...………………………...(5.8) (0.23) 12.41 FMA = 2.29*TICTS, Errorvar. = 4.00, R2 = 0.56………………………...………...(5.9) (0.12) (0.29) 18.64 13.69 COM = 3.11*TICTS, Errorvar. = 2.93, R2 = 0.76……………………..........…….(5.10) (0.14) (0.29) 22.47 10.09 BSPU = 2.82*TICTS, Errorvar. = 4.65, R2 = 0.63………………………………..(5.11) (0.14) (0.36) 19.95 12.94

  45. ทดสอบสมการมาตรวัด PU = 8.27*TICTA, Errorvar. = 24.85, R2 = 0.74…………………………………(5.12) (2.08) 11.95 PEOU = 10.28*TICTA,Errorvar. = 31.20, R2 = 0.78……………………………..(5.13) (0.38) (2.88) 26.75 10.85 IU = 8.83*TICTA, Errorvar. = 43.91, R2 = 0.65………………………………...(5.14) (0.40) (3.70) 21.92 11.88

  46. ทดสอบสมการมาตรวัด ESUIT = 2.43*TIUICT, Errorvar.= 3.67, R2 = 0.66……………………………....(5.15) (0.65) 5.69 TOA = 2.07*TIUICT, Errorvar. = 6.24, R2= 0.45…………………………..…….(5.16) (0.18) (0.67) 11.43 9.31 EMU = 2.61*TIUICT, Errorvar. = 9.42, R2 = 0.46……………………………….(5.17) (0.25) (0.86) 10.61 10.98

More Related