1 / 17

รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

การเขียนบันทึกต่อเนื่องและ การเกษียนหนังสือ. รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ความหมายของการบันทึกต่อเนื่อง คือ. • การบันทึกต่อท้ายหนังสือ. • เสนอผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหาร. • ตามลำดับตั้งแต่เจ้าของเรื่อง - ผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น จนถึงผู้มีอำนาจตกลงใจ.

Download Presentation

รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนบันทึกต่อเนื่องและการเขียนบันทึกต่อเนื่องและ การเกษียนหนังสือ รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  2. ความหมายของการบันทึกต่อเนื่อง คือ • การบันทึกต่อท้ายหนังสือ • เสนอผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหาร • ตามลำดับตั้งแต่เจ้าของเรื่อง - ผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น จนถึงผู้มีอำนาจตกลงใจ • เพื่อให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอ ที่สมบรูณ์ประกอบการตกลงใจ

  3. ข้อความที่เขียนในบันทึกต่อเนื่องข้อความที่เขียนในบันทึกต่อเนื่อง คำขึ้นต้น ไม่เขียน “เรื่อง” ข้อความเนื้อเรื่อง สั้น กระชับ ลงชื่อ ตำแหน่ง วัน / เดือน / ปี

  4. การเขียนเนื้อหาในบันทึกต่อเนื่องการเขียนเนื้อหาในบันทึกต่อเนื่อง สรุปย่อเรื่อง ให้ข้อเท็จจริง แสดงข้อคิดเห็น ให้ข้อเสนอ

  5. การบันทึกต่อเนื่องของผู้บังคับบัญชาการบันทึกต่อเนื่องของผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น ไม่บันทึกซ้ำ เพิ่มเติมส่วนที่ไม่สมบูรณ์ บันทึกสนับสนุน ลงชื่อ ยอมรับ ไม่นิยมบันทึกแย้ง(กรณีเห็นแย้งควรหารือก่อน)

  6. หลักการเกษียนหนังสือ 1.ตรวจ แก้ไข เพิ่มเติมโครงสร้างหนังสือให้สมบูรณ์ 2. การสั่งการให้ถูกขั้นตอน

  7. การตรวจ แก้ไข เพิ่มเติมโครงสร้างหนังสือ 1. ส่วนนำ หรือย่อหน้าแรก(ปัญหา เรื่องเดิม ที่มาของเรื่อง ต้นเรื่อง) ที่เป็นเหตุผลโดยตรงที่ต้องทำเรื่องนี้ กรณีที่เห็นว่า ส่วนนำไม่ตรงประเด็น สามารถเกษียนได้ดังนี้ “ส่งเรื่องคืน สรุปให้ตรงประเด็น” “ส่งเรื่องคืน ศึกษาให้รอบคอบ สรุปให้ตรงประเด็น” “สรุปให้ตรงประเด็น” เป็นต้น

  8. 2. ส่วนข้อเท็จจริง และข้อกฎหมาย ที่เป็นข้อมูลประกอบ การพิจารณา กรณีที่เห็นว่า ขาดข้อเท็จจริง หรือข้อเท็จจริงไม่ถูกต้อง ตรงประเด็น สามารถเกษียนได้ดังนี้ “ขอทราบสาเหตุที่เกิดขึ้น” “ขอทราบเหตุการณ์เรื่องราวที่เกิดขึ้น” “ขอทราบระเบียบที่เกี่ยวข้อง” “ขอทราบสาเหตุและระเบียบที่เกี่ยวข้อง” เป็นต้น

  9. 3. ส่วนข้อพิจารณา หรือข้อคิดเห็น กรณีที่เห็นว่า ขาดข้อพิจารณา หรือข้อพิจารณาไม่รอบคอบ สามารถเกษียนได้ดังนี้ “ขอทราบประโยชน์ที่ได้รับ” “ขอให้พิจารณาในด้านความเสียหายที่จะเกิดขึ้นด้วย” “ขอให้พิจารณาผลกระทบในด้าน .......... ด้วย” “ขอให้เปรียบเทียบให้รอบคอบจากหลายทางเลือก” เป็นต้น

  10. 4. ส่วนข้อเสนอ กรณีที่เห็นว่า ข้อเสนอมีความเป็นไปไม่ได้ หรือไม่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ หรือมีความเสี่ยงมาก สามารถเกษียนได้ดังนี้ “ข้อเสนอไม่แก้ปัญหา” “ข้อเสนอไม่สอดคล้องกับนโยบาย” “ข้อเสนอไม่สอดคล้องกับความคิดเห็น” “ข้อเสนอจะกระทบกระเทือน ............... ขอให้พิจารณาให้ รอบคอบ” “ข้อเสนอมีความเสี่ยงมาก ขอให้พิจารณาให้รอบคอบ” เป็นต้น

  11. 4. ส่วนข้อเสนอ (ต่อ) กรณีที่เห็นว่า ข้อเสนอมีความเป็นไปได้บางส่วน และสามารถตกลงใจได้บางส่วน สามารถเกษียนได้ดังนี้ “อนุมัติ ในข้อ 1 และ 4” “อนุมัติ ดำเนินการตามเสนอในข้อ 1 และ 3” เป็นต้น

  12. 4. ส่วนข้อเสนอ (ต่อ) กรณีที่เห็นว่า ข้อเสนอมีความเป็นไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ และมีความเสี่ยงน้อยสุด สามารถเกษียนได้ดังนี้ “เห็นชอบ” “อนุมัติหลักการ” “อนุมัติ” “อนุมัติดำเนินการตามเสนอ”

  13. เห็นชอบ • ความหมายเห็นดีด้วย เห็นชอบด้วย • ยังไม่มีรายละเอียดดำเนินการใด ๆ • ยังมิได้จัดทำเป็นโครงการ • หลังจาก “เห็นชอบ” แล้ว หน่วยที่เกี่ยวข้องต้องไปจัดทำรายละเอียดการดำเนินการ หรือจัดทำโครงการต่อไป

  14. อนุมัติหลักการ • อนุมัติหมายความว่า ให้อำนาจกระทำตามระเบียบที่กำหนด • มีรายละเอียดการดำเนินการอย่างกว้างๆ ยังไม่ครบถ้วน • จัดทำเป็นโครงการ แต่รายละเอียดยังไม่ครบถ้วน • หลังจาก “อนุมัติหลักการ”แล้ว หน่วยที่เกี่ยวข้องต้องไปจัดทำเรื่อง ขออนุมัติดำเนินการต่อไป

  15. อนุมัติ หรืออนุมัติดำเนินการ • รายละเอียดการดำเนินการครบถ้วน • เป็นโครงการที่มีรายละเอียดการดำเนินการครบถ้วน • เป็นโครงการที่ได้รับอนุมัติหลักการ หรือ อนุมัติโครงการแล้ว • หลังจาก “อนุมัติ” หรือ “อนุมัติดำเนินการ” หน่วยที่เกี่ยวข้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้เลย

  16. อนุญาต อนุมัติ ข้อแตกต่างระหว่าง อนุญาต กับอนุมัติ ความหมาย • ยินยอม ยอมให้ • ให้อำนาจกระทำตามระเบียบที่กำหนด • เรื่องส่วนตัว • ไม่เกี่ยวข้องกับงบประมาณของหน่วยงาน • ไม่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบขององค์กร • เรื่องที่เป็นความรับผิดชอบขององค์กร • เกี่ยวข้องกับงบประมาณของหน่วยงาน การนำไปใช้

  17. 5. ส่วนข้อความประโยคปิดท้ายหนังสือ กรณีเพื่อทราบ “ทราบ” “ทราบ และให้ ..... ทราบด้วย” กรณีเพื่ออนุมัติและลงนาม “อนุมัติ” “ลงนามแล้ว” กรณีเพื่อพิจารณาดำเนินการ “มอบให้หน่วย .......... ดำเนินการ” “มอบให้หน่วย ......... ดำเนินการ และขอให้ระมัดระวังเป็น พิเศษในเรื่อง .......... ด้วย” “มอบให้หน่วย .......... ดำเนินการ และขอให้มุ่งเน้นให้สามารถปฏิบัติได้อย่างมืออาชีพ” “มอบให้หน่วย .......... ดำเนินการ และขอให้เพ่งเล็งเป็นพิเศษในเรื่อง .......... ด้วย”

More Related