1 / 33

หนึ่งปี 3G ราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร?

หนึ่งปี 3G ราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร?. พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม. กสทช. ประกาศลดราคา 3G ลง 15%. อัตราอ้างอิงที่ กสทช. กำหนด. ค่าโทรศัพท์ จากนาทีละ 0. 97 บาท เหลือ 0. 82 บาท

samira
Download Presentation

หนึ่งปี 3G ราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หนึ่งปี 3Gราคาค่าโทรเปลี่ยนไปอย่างไร? พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม

  2. กสทช. ประกาศลดราคา 3G ลง 15%

  3. อัตราอ้างอิงที่ กสทช. กำหนด • ค่าโทรศัพท์ จากนาทีละ 0.97 บาท เหลือ 0.82 บาท • เอสเอ็มเอส จากข้อความละ 1.56 บาท เหลือ 1.33 บาท • เอ็มเอ็มเอส จากครั้งละ 3.90 บาทเหลือ 3.32 บาท • อินเตอร์เน็ตต่อ 1 เมกะไบต์ จาก 0.33 บาท เหลือ 0.28 บาท

  4. อัตราอ้างอิงรายประเภทบริการไม่สอดคล้องกับสภาพความจริงที่บริการถูกผูกรวมเป็นแพคเกจอัตราอ้างอิงรายประเภทบริการไม่สอดคล้องกับสภาพความจริงที่บริการถูกผูกรวมเป็นแพคเกจ • แพคเกจไหนบ้างที่ราคาเป็นไปตามราคาอ้างอิง กสทช.? • กสทช. ตรวจสอบได้อย่างไร?

  5. ปัญหาการลดราคา 3G • บริการขายพ่วงเป็นแพคเกจ แต่ราคาอ้างอิงเป็นรายประเภท ทำให้ตรวจสอบยาก • แพคเกจบางแพคเกจราคาต่ำกว่าราคาอ้างอิงอยู่แล้ว ทำให้ราคาไม่ลดลง • เป็นไปได้ที่แพคเกจที่คนใช้งานมาก ราคาอาจจะลดไม่มาก ผู้ประกอบการรายได้ไม่ลดลง คนส่วนใหญ่ไม่ได้จ่ายลดลง

  6. วิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงราคาวิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงราคา • ต้องสอดคล้องกับลักษณะการใช้งานของผู้บริโภค ที่ใช้บริการหลากหลายประเภท ทั้งเสียง และข้อมูล • ต้องสอดคล้องกับลักษณะของสินค้าที่ซื้อขาย กล่าวคือต้อง ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงราคาของแพคเกจที่นำเสนอได้

  7. การสร้างตะกร้าราคา • สร้างลักษณะการใช้บริการที่หลากหลายสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภค • โทรน้อย เน็ตมาก • โทรปานกลาง เน็ตน้อย • โทรมาก เน็ตปานกลาง • … • … • … • เรียกปริมาณการใช้แบบต่าง ๆ ที่ศึกษา ว่า “ตะกร้าราคา”

  8. ตะกร้าราคา หรือ พฤติกรรมการใช้งาน 24 ประเภท • แสดงลักษณะการใช้งานเสียงและข้อมูล เป็นตัวแทนของผู้บริโภคกลุ่มต่าง ๆ • คนกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ จ่ายค่าบริการรายเดือนลดลงเท่าไรเมื่อใช้บริการ 3G?

  9. การคำนวณ • แพคเกจรายเดือนของผู้ประกอบการแต่ละราย • แพคเกจ2G ใช้เดือนพฤษภาคม 2556 เป็นฐาน • ในแต่ละรูปแบบการใช้ สมมติให้ผู้บริโภคสามารถเลือกแพคเกจที่เหมาะสม กล่าวคือราคาถูกที่สุดตามการใช้งานได้ (full rationality) • หากปริมาณการใช้งานมากกว่าแพคเกจกำหนด ส่วนที่เกินคิดราคาตามอัตราค่าใช้บริการเกินแพคเกจ • กรณีอินเตอร์เน็ตแบบ unlimited ให้ใช้ปริมาณข้อมูลที่ได้ความเร็วสูงสุดมาคำนวณเท่านั้น

  10. ข้อมูลแพคเกจ 2G พ.ค. 56 ที่ใช้

  11. จำนวนแพ็คเกจ

  12. เทียบราคาระหว่าง พค. 56 และมิย. 56 (เดือนแรกของการประกาศลดราคา)

  13. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ AIS เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -7.8%

  14. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ TRUE เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -12.2%

  15. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ DTAC เฉลี่ยทั้ง 24 ตะกร้า ราคาเปลี่ยนแปลง = -18.6%

  16. ข้อค้นพบ 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก 3. การคิดค่าโทรเกินแพ็คเกจยังสูงกว่าอัตราขั้นสูงที่ กสทช. กำหนด และยังไม่ได้ลดลงเมื่อเทียบกับ 2G

  17. ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15%

  18. ภาพรวมการลดราคา (เปรียบเทียบกับ พ.ค. 2556)

  19. คิดค่าเฉลี่ยของ 2 ค่าที่ต่ำที่สุดช่วง 3G(Bounded rationality)

  20. ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก

  21. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ AIS

  22. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ TRUE

  23. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ DTAC

  24. คิดค่าเฉลี่ยของ 2 ค่าที่ต่ำที่สุดช่วง 3G(Bounded rationality)

  25. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ AIS

  26. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ TRUE

  27. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.56 ของ DTAC

  28. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ AIS

  29. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ TRUE

  30. ราคาลดลงเฉลี่ยแต่ละตะกร้าในมิ.ย.57 ของ DTAC

  31. ข้อสรุป 1. ราคาโดยเฉลี่ยยังลดลงไม่ถึง 15% 2. ราคาค่าบริการที่ลดลงมากเป็นตะกร้าที่ไม่ค่อยมีผู้บริโภคเลือก บริการมากนัก 3. การคิดค่าโทรเกินแพ็คเกจยังสูงกว่าอัตราขั้นสูงที่ กสทช. กำหนด และยังไม่ได้ลดลงเมื่อเทียบกับ 2G

More Related