1 / 61

เศรษฐกิจไทย หลังสงครามโลก ค.ศ. 1950 - 1995 (พ.ศ. 2493 - 2538)

เศรษฐกิจไทย หลังสงครามโลก ค.ศ. 1950 - 1995 (พ.ศ. 2493 - 2538). เอกสารอ้างอิง James Ingram: Economic Change in Thailand during1850- 1970 , Chs . 11, 12 Chris Dixon: The Thai Economy: Uneven Development and Internationalisation , Chs . 3, 4. เอกสารอ้างอิง

Download Presentation

เศรษฐกิจไทย หลังสงครามโลก ค.ศ. 1950 - 1995 (พ.ศ. 2493 - 2538)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐกิจไทย หลังสงครามโลก ค.ศ. 1950 - 1995(พ.ศ. 2493 - 2538)

  2. เอกสารอ้างอิง • James Ingram: Economic Change in Thailand during1850- 1970, Chs. 11, 12 • Chris Dixon: The Thai Economy: Uneven Development and Internationalisation, Chs. 3, 4

  3. เอกสารอ้างอิง • Peter Warr (ed.) (2005), Thailand Beyond the CrisisCh.1 • อัมมาร สยามวาลา (2541), “เศรษฐกิจไทย: 50 ปีของการขยายตัว”, ความรู้นั้นสำคัญยิ่งใหญ่ • นิรมล สุธรรมกิจ (2551), สังคมกับเศรษฐกิจ กรณีศึกษาประเทศไทย (2500 – 2545) บทที่ 5

  4. ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939 – 1945) และก่อนวิกฤตการณ์เศรษฐกิจปี 1997 สามารถแบ่งได้เป็น 4 ยุค ตามการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางเศรษฐกิจ

  5. ยุคที่ 1 : ฟื้นตัวหลังสงคราม (ค.ศ. 1946 – 1957 พ.ศ. 2489 - 2500) ยุคที่ 2: เริ่มความราบรื่น (ค.ศ. 1958 -1972 พ.ศ. 2501 - 2515) ยุคที่ 3 : ฝ่าคลื่นลมมรสุม (ค.ศ. 1973 -1985 พ.ศ. 2516 - 2528) ยุคที่ 4 : กระชุ่มกระชวย (ค.ศ. 1986 -1995 พ.ศ. 2529 - 2538)

  6. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย • ทรัพยากรธรรมชาติ • ทรัพยากรมนุษย์ • เทคโนโลยี • เศรษฐกิจโลก • นโยบายเศรษฐกิจ • สถานการณ์การเมือง

  7. ยุคที่ 1 + 2:ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ผลกระทบจาก WW2 : • สินค้าขาดแคลน • อัตราเงินเฟ้อสูงมาก • แทบไม่เหลือทุนสำรองระหว่างประเทศ

  8. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) ผลกระทบจาก WW2 : แพ้สงคราม ต้องชดใช้สัมพันธมิตรด้วยข้าว 2 ล้านตัน เก็บภาษีจากข้าวโดยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนหลายอัตรา และต่อมาใช้เก็บ “พรีเมี่ยมข้าว” 8

  9. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) ฟื้นตัวได้เร็วเพราะการส่งออก โดยข้าวและยางเป็นที่ต้องการมากในโลก เนื่องจากเกิดสงครามเกาหลีในต้นทศวรรษ 1950’s 9

  10. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ลักษณะการฟื้นตัว  การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 6.6% ในช่วง 1951-1969 (เริ่มมีสถิติบัญชีรายได้ประชาชาติ)  อัตราเงินเฟ้อต่ำ ~ 2% ต่อปี

  11. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ประชากร : • 20 ล้านคนในปี 1951 • 35 ล้านคนในปี 1969 • ขยายตัวปีละ 3.1% (ค่อนข้างสูง : baby boom) • รายได้ต่อหัวเพิ่มปีละ 3%

  12. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • การส่งออกหลากหลายชนิดมากขึ้น พืชใหม่ เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลัง • การนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม (โดยเฉพาะสินค้าทุน) เพิ่มอย่างเร็ว •  ขาดดุลการค้าและบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องตั้งแต่ปลายทศวรรษ 1950’s

  13. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ตั้งแต่ปี 1963การลงทุนในประเทศมีมูลค่ามากกว่าการส่งออก • ไม่จริงอีกต่อไป ว่าการลดส่งออกทำให้การนำเข้าลดลง บัญชีชำระเงินมีปัญหามากขึ้น เมื่อส่งออกลด • การลงทุนในประเทศทำให้การนำเข้าเพิ่มขึ้นและการค้าขาดดุล

  14. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • โครงสร้างเศรษฐกิจเปลี่ยนมาก: • สัดส่วนเกษตรใน GDP ลดลงต่อเนื่อง สัดส่วนอุตสาหกรรมเพิ่มอย่างเร็ว 19511968 เกษตร 50% 32% อุตสาหกรรม 18% 31% บริการ 32% 37%

  15. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • เกษตรก็ยังสำคัญในด้านแรงงาน (80% ของกำลังแรงงาน) และการส่งออก • ปลูกพืชใหม่มากขึ้น: ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าวฟ่าง ถั่วเหลือง จากเดิม: ข้าว ยาง อ้อย และฝ้าย

  16. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ข้าว: ผลผลิตต่อไร่ลดลงตลอดเป็นเวลาหลายปี เพราะการขยายพื้นที่นอกเขตชลประทาน แต่ผลผลิตต่อไร่กลับสูงขึ้นในทศวรรษ 1960’s เพราะการขยายเขตชลประทาน การปรับปรุงพันธุ์พืช และการใช้เครื่องจักร (ควายเหล็ก)

  17. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับนโยบายเก็บภาษีส่งออกข้าว (พรีเมี่ยมข้าว Rice Premium) ระหว่างปี 1955 และกลางทศวรรษ 1980’s ....... ยกเลิกไปในที่สุด

  18. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ข้อดีของพรีเมี่ยมข้าว: • รายได้เข้ารัฐ • ช่วยให้เงินเฟ้อต่ำ • ส่งเสริมให้เกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นนอกจากข้าว • เพิ่มราคาส่งออกข้าว (อำนาจในตลาดโลก) • ลดกำไรส่วนเกินของพ่อค้าคนกลาง

  19. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ข้อเสียของพรีเมี่ยมข้าว: • กดราคาและรายได้ของชาวนา • ลดแรงจูงใจในการปรับปรุงผลผลิต • ทำให้ราคาข้าวในประเทศผันผวน

  20. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • พืชเศรษฐกิจอื่นๆ: • ขยายพื้นที่เกษตรได้เพราะถนนใหม่เชื่อมชนบท • ผลิตแยกตามภาค : ปอกระเจาในอีสาน ข้าวโพดในภาคกลาง ยางในภาคใต้ • เกษตรกรรายย่อยตอบสนองเร็วต่อราคา

  21. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • พืชเศรษฐกิจอื่นๆ: • ผลิตเพื่อส่งออกส่วนใหญ่ (ราคายางสูงขึ้นช่วงสงครามเกาหลีในทศวรรษ 1950’s) • ช่วยเพิ่มที่มาของเงินตราต่างประเทศ • พืชใหม่ + ยังปลูกข้าวอยู่ เพราะเหตุผลทางวัฒนธรรมและลดความเสี่ยง

  22. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ในช่วงต้น 1950’s รัฐบาลเพิ่มบทบาทลงทุนในรัฐวิสาหกิจ (สิ่งทอ กระดาษ แก้ว น้ำตาล ........) • แรงจูงใจ/วัตถุประสงค์ 3 ประการ: • จำกัดอิทธิพลของคนจีน • รัฐบาลจำเป็นต้องริเริ่มเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม • ประโยชน์ส่วนตัวของคนในรัฐบาล

  23. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ในช่วงต้น 1950’s รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามเพิ่มบทบาทลงทุนในรัฐวิสาหกิจ (สิ่งทอ กระดาษ แก้ว น้ำตาล กระสอบ........) โดยมี ”บริษัทส่งเสริมเศรษฐกิจ” เป็น holding company • รัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ไร้ประสิทธิภาพและขาดทุน

  24. รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ (1958-63) นโยบายเปลี่ยนเป็นการสนับสนุนให้เอกชนลงทุนในโรงงาน รัฐบาลลงทุนเฉพาะโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure) เช่น ไฟฟ้า ถนน โทรคมนาคม และการส่งเสริม (promotion) ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) 32

  25. รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ (1958-63) เป็นจุดเริ่มของการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจ โดยมี ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์เป็นตัวจักรสำคัญ สถาบันใหม่: สภาพัฒนาฯ สนง. ส่งเสริมการลงทุน (BOI) สำนักงบประมาณ และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) 33

  26. ทหาร-ข้าราชการ-นักธุรกิจจีน สัมพันธ์ใกล้ชิดขึ้น และเอื้อประโยชน์ให้กัน คอรัปชั่นกับเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ต่อเนื่อง ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) 34

  27. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ภาษีนำเข้าและการส่งเสริมการลงทุน  การขยายตัวสูงในสาขาอุตสาหกรรม: 15% ของ GDP ในปี 1968 โดยโรงงานส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปอาหาร และสินค้าผู้บริโภค

  28. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment หรือ BOI) ก่อตั้งในปี 1959 • การส่งเสริมโดยให้สิทธิประโยชน์: ยกเว้นภาษีนำเข้า/การค้า/กำไร ต่างชาตินำเข้าช่างและซื้อที่ดินได้ ไม่มีการแข่งขันจากรัฐ • ในช่วงแรกมักจะส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ผลิตทดแทนการนำเข้า

  29. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • เพิ่มอัตราภาษีนำเข้าเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศและรายได้เข้ารัฐ • อัตราภาษีสูงสำหรับสินค้าผู้บริโภค (สำเร็จรูป) และอัตราต่ำสำหรับสินค้าทุน  “effective” rates of protection สำหรับสินค้าสำเร็จรูปยิ่งสูงกว่า

  30. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • สัดส่วนของสินค้าทุนในสินค้านำเข้าทั้งหมดสูงขึ้น (จาก 25% เป็น 47%) ในขณะที่สัดส่วนของสินค้าบริโภคลดลง • เป็นผลจากการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม

  31. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • Ingram สรุปว่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรม  นำเข้าเครื่องจักรและวัตถุดิบมาเพื่อใช้ในการผลิตทดแทนการนำเข้าสินค้าบริโภคสำเร็จรูป  ไม่มี economies of scale  ไม่มีศักยภาพในการส่งออก

  32. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนหลายอัตรา (multiple exchange rate ช่วง 1947-1955) เพื่อเพิ่มทุนสำรองและควบคุมเงินเฟ้อ • ผู้ส่งออกสินค้าบางชนิดต้องขาย $ ให้ ธปท. ในอัตราทางการกำหนด ซึ่งต่ำกว่าอัตราตลาด (10 vs 24 baht/$)

  33. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • ระบบอัตราแลกเปลี่ยนหลายอัตรา (multiple exchange rate ช่วง 1947-1955) • ธปท. ขาย $ ในอัตราทางการสำหรับสินค้านำเข้าที่จำเป็น (น้ำมัน ยา) • นอกนั้น ซื้อขาย $ กันที่อัตราตลาด • เปลี่ยนมาเป็นอัตราเดียว ยึดคงที่กับ US$ ตั้งแต่ปี 1955

  34. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • นโยบายการเงินแบบอนุรักษ์นิยมปริมาณเงินเพิ่มตามการผลิต + การถือเงินสำรองระหว่างประเทศไว้มากๆ (เพิ่มทุนสำรองได้ทั้งที่ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เพราะการช่วยเหลือจากต่างชาติ การกู้ยืม การลงทุนจากต่างชาติ การใช้จ่ายทางทหารของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม)  เสถียรภาพด้านราคา

  35. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • การถือเงินสำรองระหว่างประเทศไว้มากๆ เพราะกลัวว่าบัญชี BOP เกินดุลเพียงชั่วคราว เนื่องจาก • คาดว่าสหรัฐฯ จะถอนตัวจากสงครามเวียดนาม (กระทบต่อการใช้จ่ายทางทหารในไทย)

  36. ฟื้นตัวหลังสงคราม เริ่มความราบรื่น (1946-1972) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก (1961-1966) และการจัดตั้งสภาพัฒน์(NESDB): กำหนดเป้าหมายทางเศรษฐกิจและแผนการลงทุนของรัฐในโครงสร้างพื้นฐาน (ไฟฟ้า ขนส่ง ชลประทาน การศึกษา ฯลฯ) • ปัจจุบันอยู่ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (2007-2011)

  37. ยุคที่ 3: ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973-1985) • เข้าสู่ยุคความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและ ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง • วิกฤตการณ์น้ำมัน 2 ครั้ง: • 1973/74 : ราคาน้ำมันโลกเพิ่ม 4 เท่าตัว • 1979/80: น้ำมันแพงมากและปริมาณขาดแคลน • 90% ของพลังงานเชิงพาณิชย์มาจากน้ำมันนำเข้า

  38. ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973-1985) • สัดส่วนของน้ำมันในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดสูงขึ้นจากวิกฤตการณ์ • จาก 10% เป็น 20% (1973/74) • จาก 20% เป็น 30% (1979/80)

  39. ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973-1985) • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP growth) ลดลง • เป็น 4.1% ในปี 1974 • เป็น 4.9% ในปี 1980 อัตราการขยายตัวเฉลี่ย = 6.5% ต่อปี ระหว่าง 1973-1985

  40. ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973-1985) • อัตราการว่างงานสูง (รวมทั้งแรงงานที่มีการศึกษาสูง) • อัตราเงินเฟ้อเกิน 10% (double digit) ในช่วงวิกฤตการณ์น้ำมัน

  41. ฝ่าคลื่นลมมรสุม (1973-1985) • การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงขึ้น: • ยังไม่สูงมากในปี 1973/74 เพราะราคาสินค้าเกษตรส่งออกสูงขึ้นด้วย • การขาดดุลกลับสูงถึง 6% -7% ของ GDP ในปี 1979-81

More Related