1 / 22

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค. SSC 281 : Economics 1/2552. ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคมี 2 ทฤษฎี. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ ( Utility Theory ) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดเป็นหน่วยได้ โดยหน่วยที่วัดเรียกว่า Util ถือเป็น Cardinal Theory

saman
Download Presentation

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค SSC 281 : Economics 1/2552 ศศิธร สุวรรณเทพ

  2. ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคมี 2 ทฤษฎี • ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) • เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดเป็นหน่วยได้ โดยหน่วยที่วัดเรียกว่า Util ถือเป็น Cardinal Theory • ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดได้ จะบอกได้ เพียงว่ามีความพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่าถือเป็น Ordinal Theory ศศิธร สุวรรณเทพ

  3. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ • ทฤษฎีอรรถประโยชน์มีพื้นฐานมาจากหลักจิตวิทยา ที่กล่าวว่ามนุษย์เราจะทำตามความพึงพอใจของตนเอง ดังนั้นการซื้อสินค้าและบริการก็เกิดจากความพึงพอใจที่จะได้รับจากการซื้อสินค้าดังกล่าว • อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการ อุปโภคบริโภคสินค้าและบริการ ศศิธร สุวรรณเทพ

  4. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ • ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจาการบริโภคสินค้าและบริการสามารถ วัดเป็นหน่วยได้เรียกว่า util • เศรษฐทรัพย์ (economic goods) ทุกชนิดย่อมมีอรรถประโยชน์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการในสินค้า • สินค้าชนิดเดียวกันจำนวนเท่ากันอาจให้อรรถประโยชน์ต่างกันได้ กรณีเวลาต่างกัน หรือผู้บริโภคต่างกัน ศศิธร สุวรรณเทพ

  5. ความหมายของอรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และ อรรถประโยชน์รวม (TU) • อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility:MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้น จากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย • อรรถประโยชน์รวม (Total Utility:TU) • ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ที่ผุ้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า ตั้งแต่หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กำลังพิจารณา • TU = MUi ศศิธร สุวรรณเทพ

  6. ความสัมพันธ์ระหว่าง TU และ MU max TU TU , MU TU MU=0 0 Q 10 MU ศศิธร สุวรรณเทพ

  7. กฎการลดน้อยถอยลงอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Utility) • เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้นๆทีละหน่วยอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ของสินค้าและบริการหน่วยที่เพิ่มนั้นจะลดลงตามลำดับ Q MU TU ในช่วงแรก และเมื่อ MU = 0 TU สูงสุด หากผู้บริโภค ยังบริโภค Q เพิ่มขึ้นอีก MU ติดลบ TU ลดลง ศศิธร สุวรรณเทพ

  8. ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) • เป็นการพิจารณาว่าผู้บริโภคจะใช้จ่ายเงินรายได้ที่มีอยู่จำกัดในการซื้อสินค้าและบริการชนิดต่างๆอย่างไร จึงจะได้รับความพอใจสูงสุด (maximize utility)ทั้งนี้ผู้บริโภคจะต้องทราบราคาสินค้าที่กำลังตัดสินใจด้วย • ดุลยภาพ เกิดขึ้น เมื่อ Max TU ศศิธร สุวรรณเทพ

  9. ดุลยภาพผู้บริโภค • กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัดและสินค้าทุกชนิดมีราคาเท่ากัน • max TU เมื่อ MUa = MUb =..........= 0 • กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาไม่เท่ากัน • max TU เมื่อ • MUa/Pa = MUb/Pb =.......=MUn/Pn = k ศศิธร สุวรรณเทพ

  10. ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ • ในการซื้อสินค้าและบริการผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึงMUของสินค้าแต่ละชนิด ทำให้ไม่เกิดดุลยภาพ • ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้คำนึงถึง MU • ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดออกเป็นหน่วยได้ ศศิธร สุวรรณเทพ

  11. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากันทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน • ผู้บริโภคสามารถบอกได้เพียงได้รับความพอใจมากกว่า หรือน้อยกว่า เมื่อเทียบกับระดับการบริโภคปัจจุบัน แต่จะไม่สามารถบอกได้ว่ามากกว่า หรือน้อยกว่าจำนวนเท่าใด ศศิธร สุวรรณเทพ

  12. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) • เส้นความพอใจเท่ากัน (เส้นIC) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน สินค้า Y A 10 B 6 4 IC สินค้า X 0 1 2 3 ศศิธร สุวรรณเทพ

  13. แผนภาพเส้นความพอใจเท่ากันแผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน • เส้น ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆมีได้หลายเส้น เพราะความพอใจของ ผู้บริโภคมีหลายระดับ โดยเส้นที่อยู่เหนือกว่าย่อมให้ความพอใจ มากกว่า สินค้า Y IC3 IC2 IC1 0 สินค้าX ศศิธร สุวรรณเทพ

  14. คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากันคุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน • เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา • เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด(origin) • เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้ • เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน ศศิธร สุวรรณเทพ

  15. อัตราส่วนเพิ่มของการทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด(Marginal Rate of Substitution: MRS) • MRS : การลดลงของสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าอีก ชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย โดยรักษาระดับความพอใจให้คงเดิม ศศิธร สุวรรณเทพ

  16. สมมติให้ x และ y เป็นสินค้า 2 ชนิดที่ทดแทนกันได้ • ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยบริโภคสินค้า x ลดลง ค่า MRSyx = -+ x • + y • ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยได้รับสินค้า y ลดลง ค่า MRSxy = - +y คือค่า slope ของ เส้น IC • + x ศศิธร สุวรรณเทพ

  17. กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราส่วนเพิ่มของการทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด • เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นทีละหน่วย(สินค้าx) ค่า MRSxy จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากสินค้าทั้งสองชนิดทดแทน กันได้ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นเหตุผลที่อธิบายว่าทำไมเส้น IC จึงโค้งเข้า หาจุดกำเนิด ศศิธร สุวรรณเทพ

  18. เส้นงบประมาณ (Budget Line) • เส้นงบประมาณ (Budget Line): เส้นที่แสดงให้เห็นถึงจำนวน ต่างๆของสินค้า 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนหนึ่งที่ กำหนดให้ ณ ราคาตลาดขณะนั้น สินค้า y M: รายได้ของผู้บริโภค Py: ราคาสินค้า Y Px: ราคาสินค้า x M/Py เส้นงบประมาณ slope = Px/Py สินค้าx 0 M/Px ศศิธร สุวรรณเทพ

  19. ดุลยภาพของผู้บริโภค • ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นเมื่อผู้บริโภคใช้เงินที่มีอยู่จำกัดซื้อ สินค้า 2 ชนิด และทำให้เขาได้รับความพอใจสูงสุด สินค้าy ดุลยภาพผู้บริโภค slope IC = slope BL M/Py MRSxy =- Y = Px /Py X E IC สินค้าx 0 M/Px ศศิธร สุวรรณเทพ

  20. การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผู้บริโภคการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผู้บริโภค • กรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยน เช่น • ราคาสินค้า X เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคาสินค้า Y คงที่ • ราคาสินค้า Y เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคาสินค้า X คงที่ • ราคาสินค้าทั้ง 2 ชนิดที่พิจารณาเปลี่ยนแปลงทั้งคู่ • กรณีที่รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยน ศศิธร สุวรรณเทพ

  21. การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพผู้บริโภคกรณีราคาสินค้า X ลดลง สินค้าy Price Consumption Curve: PCC E1 E IC 1 IC สินค้าx 0 ศศิธร สุวรรณเทพ

  22. การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพผู้บริโภคกรณีรายได้เพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพผู้บริโภคกรณีรายได้เพิ่มขึ้น สินค้าy M1/Py M/Py Income Consumption Curve: ICC E1 E IC 1 IC สินค้าx 0 M1/Px M/Px ศศิธร สุวรรณเทพ

More Related