1.31k likes | 2.47k Views
ระบบปฏิบัติการ และ หลักการทำงาน. BCOM1101 ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ. 2. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์. Contents. ระบบปฏิบัติการคืออะไร.
E N D
ระบบปฏิบัติการ และ หลักการทำงาน BCOM1101 ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
1 ความหมายของระบบปฏิบัติการ 2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ Contents
ระบบปฏิบัติการคืออะไรระบบปฏิบัติการคืออะไร ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุมโปรแกรมรวมถึงการติดต่อประสานงานกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการบางครั้งเรียกว่า แพลตฟอร์ม (platform)
ระบบปฏิบัติการ (operating systems) • ใช้สำหรับการควบคุมและประสานงานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมดโดยเฉพาะกับส่วนนำเข้าและส่งออกผลลัพธ์ (I/O Device) บางครั้งเรียกว่า แพล็ตฟอร์ม (platform) • คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน
คุณสมบัติในการทำงาน • การทำงานแบบ Multi-Tasking
คุณสมบัติในการทำงาน • การทำงานแบบ Multi-User
ประเภทของระบบปฏิบัติการประเภทของระบบปฏิบัติการ • อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-aloneOS) 2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (networkOS) 3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embededOS)
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้นๆ) • นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสำนักงาน • รองรับการทำงานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น • ปัจจุบันสามารถเป็นเครื่องลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • DOS (Disk Operating System) • พัฒนาขึ้นเมื่อประมาณปี 1980 • ใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลัก • ป้อนชุดคำสั่งที่เรียกว่า command-line • ครั้งแรกที่ผลิตมีชื่อเรียกว่า PC-DOS ใช้งานบนเครื่อง IBM • ต่อมา Microsoft ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการใหม่เรียกว่า MS-DOS
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • DOS (Disk Operating System)
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • Windows • ส่วนประสานงานกับผู้ใช้แบบ GUI(Graphical User Interface) • ใช้งานได้ง่าย ผู้ใช้ไม่ต้องจดจำคำสั่งให้ยุ่งยาก • แบ่งงานออกเป็นส่วนๆที่เรียกว่า หน้าต่างงานหรือ Windows
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • Windows
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • Mac OS X • ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทแอปเปิ้ลเท่านั้น • เหมาะสมกับการใช้งานประเภทสิ่งพิมพ์เป็นหลัก • มีระบบสนับสนุนแบบ GUI เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการWindows
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) • Mac OS X
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network OS) • มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลายๆคน (multi-user) • นิยมใช้สำหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ • มักพบเห็นได้กับการนำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฎิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่าเครื่อง server (เครื่องแม่ข่าย)
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Windows Server • ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่าย • โดยเฉพาะ เดิมมีชื่อว่า Windows NT • รองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ • เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (server)
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Unix • ผู้ใช้กับต้องมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์พอสมควร • รองรับกับการทำงานของผู้ใช้ได้หลายๆคนพร้อมกัน (multi-user) • มีการพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Unix
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Linux • พัฒนามาจากระบบ Unix • ใช้โค้ดที่เขียนประเภทโอเพ่นซอร์ส(open source) • มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรียกแตกต่างกันไป • มีทั้งแบบที่ใช้สำหรับงานแบบเดี่ยวตามบ้านและแบบที่ใช้สำหรับงานควบคุมเครือข่ายเช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Linux
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • OS/2 Warp Server • พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม ปัจจุบันเลิกพัฒนาแล้ว • ใช้เป็นระบบเพื่อควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ serverเช่นเดียวกัน
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • OS/2 Warp Server
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Solaris • ทำงานคล้ายกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix (Unix compatible) • ผลิตโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) • Solaris
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS) • พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ หรือ smartphone บางรุ่น • สนับสนุนการทำงานแบบเคลื่อนที่ได้เป็นอย่างดี • บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว เช่น ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) • Pocket PC OS (Windows CE เดิม) • ย่อขนาดการทำงานของ Windowsให้มี • ขนาดที่เล็กลง (scaled-down version) • รองรับการทำงานแบบ multi-tasking ได้ • มักติดตั้งบนเครื่อง Pocket PC หรืออาจพบเห็นในมือถือประเภท smart phone บางรุ่น
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) • Palm OS • พัฒนาขึ้นมาก่อน Pocket PC OS • ลักษณะงานที่ใช้จะคล้ายๆกัน • ใช้กับเครื่องที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์มและบางค่ายเท่านั้น เช่น Visor (ของค่าย Handspring) และ CLIE (ของค่าย Sony)
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) • Symbian OS • รองรับกับเทคโนโลยีการ • สื่อสารแบบไร้สาย (wireless) โดยเฉพาะ ผลิตโดยบริษัทซิมเบียน • นิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือประเภท smart phone • สนับสนุนการทำงานแบบหลายๆงานในเวลาเดียวกัน (multi-tasking)
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) • OSX • เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เครื่อง iphoneและเป็นระบบปฏิบัติการเดียวกับที่ใช้บนเครื่อง Mac • รองรับการทำงานพร้อมกันหลายโปรแกรมหรือ Multitasking
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) • Android • เป็นระบบปฏิบัติการบนโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพาที่พัฒนาโดยบริษัท Google • มีโปรแกรมสำหรับการใช้งาน เช่น SMS, ปฏิทิน, เบราเซอร์, สมุดโทรศัพท์ โปรแกรมดูวิดีโอ, แผนที่นำทาง เป็นต้น
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program) • ส่วนใหญ่จะมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ • มีคุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ • นิยมเรียกสั้นๆว่า ยูทิลิตี้ (utility) • อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ • ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs) • ยูทิลิตี้อื่นๆ (stand-alone utility programs)
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ทำงานด้านต่างๆ • ประเภทการจัดการไฟล์ (FileManager) • ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller) • ประเภทการสแกนดิสก์ (DiskScanner) • ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (DiskDefragmenter) • ประเภทรักษาหน้าจอ (ScreenSaver)
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager) • มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่างๆ • เช่น การคัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบและการย้ายไฟล์ เป็นต้น • ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ๆยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่เรียกว่า image viewer เพื่อนำมาปรับใช้กับไฟล์รูปภาพได้
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม(Uninstaller) • ลบหรือกำจัดโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้ออกไปจากระบบ • ทำให้พื้นที่เก็บข้อมูลมีเหลือเพิ่มมากขึ้น • ทำงานได้อย่างง่ายดาย
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner) • สแกนหาข้อผิดพลาดต่างๆพร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหาในดิสก์ • ประยุกต์ใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งาน (unnecessary files) เมื่อใช้คอมพิวเตอร์ไประยะหนึ่งได้
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (Disk Defragmenter) • ช่วยในการจัดเรียงไฟล์ข้อมูลให้เป็นระเบียบ และเป็นกลุ่มเป็นก้อน • เมื่อต้องการใช้งานไฟล์ข้อมูลในภายหลังจะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และรวดเร็วกว่าเดิม
ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) • ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen Saver) • ช่วยถนอมอายุการใช้งานของจอคอมพิวเตอร์ให้ยาวนานมากขึ้น • ใช้ภาพเคลื่อนไหวไปมา และเลือกลวดลายหรือภาพได้ด้วยตนเอง • อาจพบเห็นกับการตั้งค่ารหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้ได้
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs) • เป็นยูทิลิตี้ที่ทำงานด้านอื่นโดยเฉพาะไม่เกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ • มักทำงานเฉพาะอย่าง หรือด้านใดด้านหนึ่ง • มีทั้งที่แจกให้ใช้ฟรีและเสียเงิน • มีให้เลือกใช้เยอะและหลากหลายมาก • ใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs) • โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti Virus Program) • ติดตั้งไว้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมประสงค์ร้าย • ต้องอัพเดทข้อมูลใหม่อยู่เสมอเพื่อให้รู้จักและหาทางยั้บยั้งไวรัสใหม่ๆที่เกิดขึ้นทุกวัน • ควรติดตั้งไว้ในเครื่องทุกเครื่อง
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs) • โปรแกรมไฟร์วอลล์ (PersonalFirewall) • ป้องกันการบุกรุกจากผู้ไม่ประสงค์ดี • สามารถติดตามและตรวจสอบรายการต่างๆของผู้บุกรุกได้ • เหมาะกับเครื่องที่ต้องการรักษา • ความปลอดภัยของข้อมูลเป็นอย่างมาก
ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs) • โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility) • เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มีขนาดที่เล็กลง • ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์บางครั้ง นิยมเรียกว่า ซิปไฟล์ (zip files) • ยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น PKZip, WinZip เป็นต้น
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ที่ผลิตขึ้นมา จะทำให้ติดตั้งหรือใช้งานบนระบบปฏิบัติการตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้กับระบบปฏิบัติการอื่นได้ แต่ยังมีโปรแกรมประยุกต์บางกลุ่มเรียกว่า Cross-platform Application ที่สามารถทำงานได้กับระบบปฏิบัติการหลาย ๆ แพลตฟอร์ม โปรแกรมประยุกต์ (Application) ระบบปฏิบัติการ/แพลตฟอร์ม A ระบบปฏิบัติการ/แพลตฟอร์ม B ระบบปฏิบัติการ/แพลตฟอร์ม C ระบบปฏิบัติการ/แพลตฟอร์ม D
ไบออส (BIOS - Basic Input Output System) • เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มคำสั่งที่บรรจุอยู่ในส่วนของหน่วยความจำ ROM • ตัวโปรแกรมคำสั่งที่เก็บไว้จะอยู่ได้อย่างถาวร มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์มาตรฐานในเครื่อง • ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้เก็บโปรแกรมไบออสจะเป็นวงจรหน่วยความจำแบบ FlashROM ที่สามารถแก้ไขโปรแกรมได้ (แต่ไม่บ่อยนัก)
เริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์ (Boot Up)
ประเภทของการบู๊ตเครื่องประเภทของการบู๊ตเครื่อง • การบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์เริ่มทำการโหลด • ระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจำ RAMสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ - โคลด์บู๊ต (Coldboot) - วอร์มบู๊ต (Warmboot)
ประเภทของการบู๊ตเครื่องประเภทของการบู๊ตเครื่อง โคลบู๊ต (Cold boot) การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์ • กดปุ่มเปิดเครื่อง (PowerOn) เพื่อเข้าสู่กระบวนการทำงานโดยทันที • ปุ่มเปิดเครื่องเป็นเหมือนสวิตช์ปิดเปิดการทำงานโดยรวมของคอมพิวเตอร์เหมือนกับสวิตช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
ประเภทของการบู๊ตเครื่องประเภทของการบู๊ตเครื่อง วอร์มบู๊ต (Warm boot) • การบู๊ตเครื่องเพื่อให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรีสตาร์ทเครื่อง (restart) สามารถทำได้สามวิธีคือ • กดปุ่ม Resetบนตัวเครื่อง • กดปุ่ม Ctrl+alt+deleteจากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคำสั่ง restart • สั่งรีสตารท์เครื่องได้จากเมนูบนระบบปฏิบัติการ
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) • คือ ส่วนการทำงานของโปรแกรมที่ติดต่อหรือเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์ให้ทำงานได้ตามที่ต้องการ • แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ • ประเภทคอมมานด์ไลน์ (CommandLine) • ประเภทกราฟิก (GUI - GraphicalUserInterface)
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line) • อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคำสั่งที่เป็นตัวหนังสือ (text) สั่งการลงไปทีละบรรทัดคำสั่ง • เรียกว่า คอมมานไลด์ (commandline)
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface) • นำเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows • ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจดจำรูปแบบคำสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยากเหมือนกับแบบ คอมมานด์ไลน์ • เพียงแค่เลือกรายการคำสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด