230 likes | 455 Views
2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก. จัดตั้งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ. 1. 2. ติดตามสภาวะทางอุตุ – อุทกวิทยาอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย สภาวะอากาศ สภาพน้ำฝน พายุจร สภาพน้ำท่า สภาพน้ำในอ่าง. www.tmd.go.th (กรมอุตุนิยมวิทยา).
E N D
2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก จัดตั้งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ 1
2 ติดตามสภาวะทางอุตุ – อุทกวิทยาอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย สภาวะอากาศ สภาพน้ำฝน พายุจร สภาพน้ำท่า สภาพน้ำในอ่าง www.tmd.go.th(กรมอุตุนิยมวิทยา) http://www.hydro-8.com/(ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาคใต้) http://www.ridceotrang.com(โครงการชลประทานตรัง)
3 การใช้ระบบโทรมาตร เพื่อพยากรณ์และเตือนภัยน้ำท่วม ติดตามสถานการณ์น้ำแบบเวลาจริง สถานีX.139 ต.ปะเหลียน อ.ปะเหลียน สถานี X.236 เทศบาลตำบลย่านตาขาว อ.ย่านตาขาว สถานีเป้าหมาย X.234 ต.นาตาล่วง อ.เมือง สถานีเฝ้าระวัง X.56 ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด
4 ตรวจสอบความพร้อมการใช้งานของอาคารชลประทานต่างๆ ดำเนินการแล้วจำนวน 726 แห่ง ตามตัวชี้วัดที่ 8 และดำเนินการเสร็จสิ้นทั้งโครงการแล้ว
5 ปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารชลประทานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ปรับปรุง จำนวน 6 แห่ง ซ่อมแซม จำนวน 83 แห่ง
6 ขุดลอกและกำจัดวัชพืช เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับน้ำและระบายน้ำ ขุดลอกคลอง จำนวน 5 แห่ง กำจัดวัชพืช จำนวน 4 แห่ง ขุดลอกตะกอนดินในคลองส่งน้ำ จำนวน 10 แห่ง ขุดลอกคลองน้ำเจ็ด กำจัดวัชพืช ขุดลอกคลองนางน้อย ขุดลอกตะกอนดิน
7 เตรียมความพร้อมเครื่องจักรเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ เช่น เครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ รถขุด รถบรรทุก และกระสอบทราย เป็นต้น รถตักหน้าขุดหลัง จำนวน 1 คัน รถบรรทุก 6 ล้อ จำนวน 3 คัน เครื่องสูบน้ำขนาด 8 ,10 ,12 นิ้ว ขอสนับสนุนจาก สชป.16 เรือท้องแบบติดเครื่องยนต์ จำนวน 1 ลำ
แผนปฏิบัติการแบ่งตามลุ่มน้ำย่อยแผนปฏิบัติการแบ่งตามลุ่มน้ำย่อย 1.คลองท่างิ้ว อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว ความจุที่ ร.น.ก.+18.500 ล้าน ลบ.ม. ที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ต.ท่างิ้ว อ.ห้วยยอด
อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว จังหวัดตรัง 1.พร่องน้ำโดยใช้ rule curve และ r.o.s. ตามความเหมาะสม 2.แจ้ง อบต. ในพื้นที่เพื่อเปิดบานระบาย โครงการ ชป.เล็ก ที่อยู่ท้ายอ่างฯ
กรณีน้ำเริ่มไหลผ่าน • อาคารระบายน้ำฉุกเฉิน • อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัยเมื่อระดับน้ำเข้าสู่ระดับเตือนภัย • ภายใน 3 - 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับอุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง /อพยพ คน อยู่ในที่ปลอดภัย
กรณีระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำถึงระดับสันอ่างเก็บน้ำกรณีระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำถึงระดับสันอ่างเก็บน้ำ ข้อแนะนำ 1. ใช้เครื่องสูบน้ำ ขนาด 12 นิ้ว จำนวน 75 เครื่อง สูบน้ำลงด้านท้ายอ่าง ซึ่งได้ปริมาณน้ำ 18.750 ลบ.ม./วิ (จากการตรวจสอบข้อมูลระดับน้ำที่ไหลเข้าอ่างสูงสุด 18.441 ลบ.ม./วิ ข้อมูลเมื่อ มีนาคม 2554 2. ใช้ท่อเหล็กขนาด Ø 8 - Ø 12 กาลักน้ำลงท้ายอ่าง
3. การตัดสันเขื่อน คงไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากพื้นที่ไม่เหมาะสม ตามรูปที่แนบมาด้วยนี้
2.คลองนางน้อย 1.พร่องน้ำหน้าฝายคลองนางน้อย โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย
ฝาย คลองลำชาน LMC Q=2.181 ลบ.ม./วินาที 1L - LMC คลองซอย 1L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.221 ลบ.ม./วินาที 2L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.376 ลบ.ม./วินาที 3L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.131 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำตรัง 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย
กรณีน้ำเริ่มท่วม • โครงการฝายคลองนางน้อย • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัยเมื่อระดับน้ำเข้าสู่ระดับเตือนภัย • ภายใน 3 - 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับอุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง /อพยพ คน อยู่ในที่ปลอดภัย
3. คลองปะเหลียน 1.พร่องน้ำหน้า ปตร.คลองปะเหลียน โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย
ปตร.ปะเหลียน คลองระบายน้ำสายใหญ่ LMC Q=1.021 ลบ.ม./วินาที Q=0.267 ลบ.ม./วินาที คลองซอย 1R - LMC คลองระบายน้ำสาย2-สายใหญ่ Q=0.383 ลบ.ม./วินาที คลองซอย 2R - LMC Q=0.339 ลบ.ม./วินาที คลองแยกซอย 1L – 2R - LMC คลองระบายน้ำสาย1-สายใหญ่ ทะเลอันดามัน 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย ไปสู่คลองระบาย และลงทะเลต่อไป
กรณีน้ำท่วม • โครงการประตูระบายน้ำคลองปะเหลียน • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัย ภายใน 3 – 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับ • อุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง อพยพคนไปอยู่ในที่ปลอดภัย
4.คลองกะลาเสใหญ่ 1.พร่องน้ำหน้า ปตร.คลองกะลาเสใหญ่ โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย
RMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=1.624 ลบ.ม./วินาที LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 1 R-LMC 1 R-RMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 2 R-LMC Q=0.207 ลบ.ม./วินาที 1L-RMC 3 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 2 R-RMC คลองกะลาเสใหญ่ 4 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 1R-1L-RMC 5 R-LMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.096 ลบ.ม./วินาที 6 R-LMC Q=0.207 ลบ.ม./วินาที คลองกะลาเสน้อย 1L-6 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=0.483 ลบ.ม./วินาที 7 R-LMC 1L-7 R-LMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.123 ลบ.ม./วินาที 8 R-LMC ทะเลอันดามัน 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำ LMC, RMC ไปสู่คลองธรรมชาติ และลงทะเลต่อไป
กรณีน้ำท่วม • โครงการประตูระบายน้ำคลองกะลาเสใหญ่ • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัย ภายใน 3 – 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับ • อุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง อพยพคนไปอยู่ในที่ปลอดภัย
5. แม่น้ำตรัง 1.ตรวจสอบระดับน้ำแม่น้ำตรังบริเวณ อ.รัษฏา ซึ่งอยู่บริเวณต้นน้ำ 2.ตรวจสอบระดับน้ำที่สถานีวัดน้ำ X.56 ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด ระดับน้ำสูงขึ้นในระดับตลิ่งที่ระดับ +13.600 ม.รทก. 3.ระดับน้ำที่ X.56 +13.600 ม.รทก. ให้ทำหนังสือเตือนภัยไปที่ผู้ว่าราชการจังหวัด สำเนา หัวหน้าสำนักป้องกันบรรเทาสาธารณะภัยจังหวัด เพื่อเตือนภัย ราษฏรในเขต อ.เมือง อ.กันตัง อ.วังวิเศษ ที่มีบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำตรัง