400 likes | 1.97k Views
ไฟป่า. หมอกควัน. สภาพที่ตั้งของ กลุ่มประเทศอาเซียน. สถานการณ์ หมอกควันข้ามแดน. ทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียน. ปัญหาหมอกควันข้ามแดน. สาเหตุ : เกิดจากไฟป่า. ผลกระทบจากหมอกควัน. ด้านสุขภาพ ทำให้ระคายเคือง แสบตา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และสุขภาพจิต. ผลกระทบจากหมอกควัน. ด้านการคมนาคม
E N D
สภาพที่ตั้งของกลุ่มประเทศอาเซียนสภาพที่ตั้งของกลุ่มประเทศอาเซียน
สถานการณ์หมอกควันข้ามแดนสถานการณ์หมอกควันข้ามแดน
ทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียนทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียน
ปัญหาหมอกควันข้ามแดน สาเหตุ : เกิดจากไฟป่า
ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านสุขภาพ ทำให้ระคายเคือง แสบตา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และสุขภาพจิต
ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านการคมนาคม ทำให้ทัศนวิสัยในการคมนาคมไม่ดี
ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยวลดลง
ความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียน ตื่นตัว ตั้งแต่ปี 2523 • ตั้งทีม “Haze Technical Task Force (HTTF)” ในปี 2538 • ทีม HTTF จัดทำแผนปฏิบัติร่วมกัน “Regional Haze Action Plan (RHAP)” • ประกอบด้วย 1) แผนป้องกัน (Prevention)2) แผนเฝ้าระวัง (Monitoring) • 3) แผนสู้และบรรเทาภัย (Capability and Mitigation) • ** RHAP เป็นข้อปฏิบัติอย่างหลวมๆ ไม่มีผลบังคับทางกฎหมาย**
ยกระดับความร่วมมือ ข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน(ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution ; AATHP) **เป็นการยกระดับความร่วมมือให้สูงขึ้น (ปี 2543) ยกเลิก RHAP** ***ข้อตกลงฉบับนี้ถือเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศฉบับแรกในโลกที่ผูกมัดประเทศสมาชิกให้ช่วยกันจัดการปัญหาหมอกควันร่วมกันโดยทั้งดำเนินการด้วยตนเองและร่วมกับประเทศภาคีอื่น ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามแล้วในปี 2545 และได้ให้สัตยาบันแล้ว 9 ประเทศ ยกเว้นประเทศอินโดนีเซีย
การประชุมConference of the Parties (COP)คือ ประเทศภาคี 10 ประเทศอาเซียน แบ่งเป็นอนุภาคย่อย 1. การประชุมคณะทำงานด้านไฟป่าและหมอกควันสำหรับอนุภูมิภาคแม่โขง 5 ประเทศ ลาว เมียนม่าร์ เวียดนาม กัมพูชา และไทย 2. การประชุมรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม และคณะทำงาน 5 ประเทศ แถบเส้นศูนย์สูตร เรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย
บทวิเคราะห์จากสภาที่ปรึกษาฯ กรณีความร่วมมือการแก้ปัญหาหมอกควันของกลุ่มประเทศภูมิภาอาเซียน
บทพิสูจน์ความร่วมมือระหว่างประเทศบทพิสูจน์ความร่วมมือระหว่างประเทศ • ระดับการประชุมสูงสุดได้รับการพิจารณาอย่างจริงจังจากสมาชิก • ระดับนโยบายยังเป็นการแยกส่วนปฏิบัติตามอนุภูมิภาค • ระดับปฏิบัติยังคงเป็นการช่วยเหลือตนเองตามศักยภาพของประเทศนั้นๆ
ข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1. ด้านการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ
2. ด้านการเผยแพร่ นำเสนอโครงการปิดทองหลังพระ เป็นน่านโมเดล
3. ด้านการสนับสนุนให้ใช้สถาบันวิชาการเป็นผู้ประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
4. ด้านการสนับสนุนเทคโนโลยี4. ด้านการสนับสนุนเทคโนโลยี