1 / 9

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์. จัดทำโดย. น . ส . จรรยา สมสา ม .5 / 1 เลขที่ 18 น . ส . ดัชนี ร้อย เพีย ม .5 / 1 เลขที่ 22 น . ส . รัชนีกร อรุณศรี ม .5 / 1 เลขที่ 25 น . ส . อินทุอร วงษ์ สุ่ย ม .5 / 1 เลขที่ 43. อักษร เฮียโรกลี ฟิค.

ryu
Download Presentation

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์

  2. จัดทำโดย • น.ส. จรรยา สมสา ม.5/1 เลขที่ 18 • น.ส. ดัชนี ร้อยเพีย ม.5/1 เลขที่ 22 • น.ส. รัชนีกร อรุณศรี ม.5/1 เลขที่ 25 • น.ส. อินทุอร วงษ์สุ่ยม.5/1 เลขที่ 43

  3. อักษรเฮียโรกลีฟิค • ไฮโรกลิฟ (อังกฤษ: Hieroglyph) เป็นอักษรภาพอย่างหนึ่งของอียิปต์โบราณ เพิ่งมีการอ่านและแปลความหมายได้อย่างชัดเจนเป็นระบบเมื่อมีการค้นพบหินโรเซตตาในปีพ.ศ.2342 ที่จารึกโดยตัวอักษร 3 แบบ คือ กรีกโบราณดีโมติกและไฮโรกลิฟ การเปรียบเทียบชื่อราชวงศ์ต่าง ๆ โดยใช้ตัวอักษร 3 แบบ ทำให้ผู้เชี่ยวชาญภาษาโบราณสามารถอ่านอักษรไฮโรกลิฟ ได้ใน 25 ปีต่อมา

  4. จุดกำเนิด • ชาวอียิปต์เชื่อว่าอักษรนี้ประดิษฐ์โดยเทพเจ้าโทห์ และเรียกชื่ออักษรว่า mdwtntr (คำพูดของพระเจ้า) คำว่าไฮโรกลิฟฟิก มาจากภาษากรีกhieros (ศักดิ์สิทธิ์) + glypho (จารึก) คำนี้ใช้เป็นครั้งแรก โดยคลีเมนต์แห่งอเล็กซานเดรีย การเขียนในอียิปต์ที่เก่าที่สุด เริ่มเมื่อราว 2,867 ปีก่อนพุทธศักราช ส่วนอักษร ไฮโรกลิฟฟิกที่ใหม่ที่สุด เป็นประกาศที่กำแพงวิหารในฟิแล (philae) อายุราว พ.ศ. 939 อักษรนี้ใช้กับจารึกอย่างเป็นทางการ

  5. ตามกำแพงวิหารและหลุมฝังศพ บางแห่งมีการระบายสีด้วย การเขียนทั่วไป ในชีวิตประจำวันใช้อักษรเฮียราติกหลังจากจักรพรรดิทีออสซิอุสที่1สั่งปิดวิหารของพวกเพเกิน ทั่วจักรวรรดิโรมันในช่วงพ.ศ. 1000 ความรู้เกี่ยวกับอักษรนี้ได้สูญหายไป จนกระทั่งชอง-ฟรองซัว ชองโปเลียงชาวฝรั่งเศสถอดความอักษรนี้ได้

  6. ลักษณะ • อักษรไฮโรกลิฟฟิกอาจจะเก่ากว่าอักษรรูปลิ่มของชาวซูเมอร์ทิศทางการเขียนเป็นได้หลายแบบ ทั้งแนวนอน ซ้ายไปขวาหรือขวาไปซ้าย แนวตั้งจากบนลงล่าง ซ้ายไปขวาหรือขวาไปซ้าย การบอกทิศทาง สังเกตจากการหันหน้าของรูปคนหรือสัตว์ ซึ่งจะหันหน้าเข้าหาจุดเริ่มต้นของเส้น อียิปต์ยุคต้นและยุคกลาง (ราว 1,457-1,057 ปีก่อนพุทธศักราช) ใช้สัญลักษณ์ 700 ตัว ในยุคกรีก-โรมัน ใช้สัญญลักษณ์มากกว่า 5,600ตัว

  7. สัญลักษณ์แต่ละตัวบอกทั้งการออกเสียงและความหมาย เช่นสัญลักษณ์ของจระเข้ เป็นรูปจระเข้รวมกับสัญลักษณ์แทนเสียง “msh” เช่นเดียวกับคำว่าแมว “miw” จะใช้รูปแมว รวมกับสัญลักษณ์แทนอักษร m iและ w • อักษรที่มีลักษณะเช่นเดียวกับอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์จะเรียกอักษรไฮโรกลิฟฟิกด้วย เช่นอักษรไฮโรกลิฟฟิกของชาวลูเวียและชาวฮิตไตน์

  8. ความเชื่อ • ชาวอียิปต์มีความชำนาญทางศิลปะหัตถรรม งานช่าง และการทำหนังสือ โดยเฉพาะหนังสือที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับชีวิตหลังความตายและอักษรภาพหรือภาษาตามความเชื่อที่มีอำนาจและอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและพิธีกรรม • ชาวอียิปต์เชื่อว่าตัวอักษรของพวกเขาประดิษฐ์ขึ้นโดยเทพเจ้าธอธ (Thoth) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งภูมิปัญญา และจอความดีชั่วของผู้ตาย และเรียกชื่อตัวอักษรของพวกเขาว่าmdwnTrหรือคำพูดของเทพเจ้า

  9. ตัวอักษรของชาวอียิปต์โบราณหรือที่เรารู้จักว่าอักษรภาพ (Hieroglyphs) หรือ ไฮโรกริฟฟิค,ฮีโรกราฟิค มาจากภาษากรีกhieros (ศักดิ์สิทธิ์) + glypho (จารึก) ซึ่งไม่มีการยืนยันที่ชัดเจนว่าการเขียนในอียิปต์โบราณที่เก่าที่สุดเกิด ขึ้นเมื่อ ไร ส่วนอักษรไฮโรกลิฟฟิคที่จารึกเป็นตัวสุดท้ายคือประกาศที่กำแพงวิหารในฟิเล (Philae) ในวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 394 การเขียนทั่วไปในชีวิตประจำวันใช้อักษรเฮียราติก หลังจากจักรพรรดิทีโอโดซิอุสที่ 1 (Theodosius I) สั่งปิดวิหารของพวกนอกรีตทั่วจักรวรรดิโรมันในช่วง ค.ศ. 457ความรู้เกี่ยวกับอักษรภาพนี้ก็ได้สูญหายไป

More Related