110 likes | 187 Views
ความปลอดภัยแรงงาน. ประเด็นเนื้อหา. ความสำคัญ สภาพปัญหา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวทางแก้ไขปัญหา. ความสำคัญ. มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯ ปี 2550 บุคคลย่อมมีสิทธิ์ได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทำงาน รวมทั้งหลักประกันในการดำรงชีพฯ
E N D
ประเด็นเนื้อหา • ความสำคัญ • สภาพปัญหา • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • แนวทางแก้ไขปัญหา
ความสำคัญ • มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฯ ปี 2550 บุคคลย่อมมีสิทธิ์ได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทำงาน รวมทั้งหลักประกันในการดำรงชีพฯ • นโยบายรัฐบาล ข้อ 3.2.1 ดำเนินการให้แรงงานทั้งในและนอกระบบได้รับการคุ้มครองฯ โดยเฉพาะในด้าน คปภ. • มติ ครม. เมื่อ 11 ธ.ค. 2550 (วาระชาติ) “แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี”
สภาพปัญหา • การประสบอันตรายจากการทำงานยังสูง • เกิดมากในกิจการก่อสร้างและการผลิต • เกิดมากใน สปก. ขนาดกลางและขนาดเล็ก • การบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มงวดและไม่ทั่วถึง • การรณรงค์ส่งเสริมทำได้จำกัด • นายจ้าง ลูกจ้าง ไม่สนใจ • การเจ็บป่วยหรือเกิดโรคจากการทำงานมากขึ้น
การประสบอันตรายจากการทำงานปี 2547 - 2551
สถิติการประสบอันตรายจากการทำงาน ปี 2547-2551
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ระดับกระทรวง อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน ต่อพันราย ระดับกรม อัตราตายจากการทำงานต่อแสนคน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • กฎกระทรวงฯ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (8 ฉบับ) 1. รังสี 2. อับอากาศ 3. การตรวจสุขภาพ 4. ประดาน้ำ 5. ความร้อน แสงสว่าง เสียง 6. การบริหารจัดการความปลอดภัยฯ 7. ก่อสร้าง 8. เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ • ประกาศกระทรวงฯ ตาม ปว.103 1. ไฟฟ้า 2. ภาวะแวดล้อม (สารเคมี) 3. สารเคมีอันตราย 4. อัคคีภัย 5. ตกจากที่สูง
บทลงโทษ • จำคุกไม่เกินหนึ่งปี • ปรับไม่เกินสองแสนบาท • ทั้งจำทั้งปรับ
แนวทางแก้ไขปัญหา • พัฒนากฎหมายให้ทันสมัย • บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด • ตรวจ สปก. กลุ่มเสี่ยง • ตรวจ สปก. ที่มีการประสบอันตรายสูง • รณรงค์ส่งเสริมให้มากขึ้น • อาศัยเครือข่าย