1 / 76

การจำและการลืม วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู ( 1051203 )

การจำและการลืม วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู ( 1051203 ). เสนอ อาจารย์โชติกา ธรรมวิเศษ โดย นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มรายงานที่ 3 หมู่เรียนที่ 3 ชั้นปีที่ 1. สมาชิกกลุ่ม. 1. นางสาวประภาพรรณ เกษา กิจ รหัสนักศึกษา 543410020305

russ
Download Presentation

การจำและการลืม วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู ( 1051203 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจำและการลืมวิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู (1051203) เสนอ อาจารย์โชติกา ธรรมวิเศษ โดย นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มรายงานที่ 3 หมู่เรียนที่ 3 ชั้นปีที่ 1

  2. สมาชิกกลุ่ม • 1.นางสาวประภาพรรณ เกษากิจ รหัสนักศึกษา 543410020305 • 2.นางสาวเพ็ญประภา แก้วนิน รหัสนักศึกษา 543410020312 • 3.นางมุกดา ทองสัมฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 543410020318 • 4.นางสาวรัชตกุล ชินรัตน์ รหัสนักศึกษา 543410020319 • 5. นางสาวสุดาดวง แก้วสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 543410020333 • 6.นางสาวสุภัตรา สีดาเกลี้ยง รหัสนักศึกษา 543410020334 • 7.นายอนุชา ศรีลาศักดิ์ รหัสนักศึกษา 543410020345

  3. สาระการเรียนรู้ 1.การจำและการลืม 2.ความหมายและความสำคัญของการจำ 3.พฤติกรรมการจำ 4.ประเภทของการจำ 5.ระบบของการจำ 6.องค์ประกอบของการจำ 7.เทคนิคและวิธีการจำที่ดี 8.ความหมายของการลืม 9.สาเหตุของการลืม 10.บทบาทของผู้สอนในการนำความรู้เรื่องการจำและการลืมไปใช้

  4. การจำและการลืม การจำและการลืม เป็นพฤติกรรม ที่เกิดขึ้นภายหลังจากการเรียนรู้และ รับรู้เหตุการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตมนุษย์ ทั้งการจำและการลืมล้วนมีความสำคัญ กับชีวิตมนุษย์ การจำเพื่อนำประสบการณ์ มาใช้บริหารชีวิตตน และการลืมบางครั้งก็ จำเป็น เช่น เพื่อลืมความทรงจำที่ทุกข์ระทม

  5. การจำ

  6. ความหมายของการจำ (Remembering) การจำ (memory) เป็นกระบวนการ ที่บุคคลเก็บสะสมประสบการณ์จากอดีต เข้าไว้ แล้วนำมาตอบสนองหรือมามีผล ต่อการกระทำตอบสิ่งเร้าในปัจจุบันได้ *** การจำ มีหลายคำที่นักวิชาการใช้ เช่น Retentionหรือ Memoryหรือ Remembering

  7. ความสำคัญของการจำ ให้มนุษย์คงความเป็นมนุษย์ ช่วยในพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ ช่วยประกอบการบริหารชีวิตของมนุษย์ ช่วยในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน

  8. พฤติกรรมการจำ มีการเรียนรู้เกิดขึ้น มีการสะสมไว้ซึ่งความรู้ที่ได้เรียนรู้แล้ว มีการระลึกได้เมื่อพบเห็น มีการกระทำซ้ำได้

  9. ประเภทของความจำ

  10. ประเภทของความจำ *** แบ่งประเภทของความจำตามแนวคิดของ ฮิลการ์ด (Hilgard1962:288-290) ได้ 4 ประเภทดังนี้ • การจำได้ (Recognition) • การระลึกได้ (Recall) • การเรียนใหม่ (Relearning) • การระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต • (RedintegrativeMemory)

  11. การจำได้ (Recognition) การจำแบบรู้จัก หรือ การจำแบบสัมผัสซ้ำ เป็นความจำที่บุคคลจำได้ เนื่องมาจากได้สัมผัสหรือ รับรู้ในสิ่งนั้นซ้ำอีก จำได้ว่าเคยเห็น หรือ เคยรู้จักมาก่อน ลักษณะแบบ “คลับคล้ายคลับคลา”

  12. ตัวอย่างการจำได้ (Recognition)

  13. ตัวอย่างการจำได้ (Recognition)

  14. ตัวอย่างการจำได้ (Recognition)

  15. การระลึกได้ (Recall) การสามารถจำสิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อน โดยไม่ต้องพบเห็นสิ่งนั้น ซึ่งบุคคลแสดงความจำ ออกมาได้ “แบบอัตโนมัติ”

  16. ตัวอย่างการระลึกได้ (Recall) แม่จ๋า ช่วยหนูด้วย หนูกินกล้วย อยู่บนหลังคา ตกลงมา ทายาหม่อง ยี่สิบกล่องก็ไม่หาย ไปหาหมอ หมอไม่อยู่ ไปหาปู่ ปู่กินเหล้า ไปหายาย ยายตำหมาก กระเด็นใส่ปาก ร้องไห้แงแง

  17. ตัวอย่างการระลึกได้ (Recall)

  18. ตัวอย่างการระลึกได้ (Recall)

  19. ตัวอย่างการระลึกได้ (Recall)

  20. ตัวอย่างการระลึกได้ (Recall)

  21. การเรียนใหม่ (Relearning) จำแบบเรียนซ้ำ หรือ การจำแบบเรียนซ้ำใหม่ เป็นการจำในสิ่งเดิมซึ่งได้เรียนรู้ไปแล้ว และดูเหมือนลืมไปหมดแล้ว แต่พอกลับมาเรียนซ้ำอีกครั้ง จะทำให้จำได้เร็วและง่ายกว่าผู้เริ่มต้นใหม่ “การเรียนซ้ำจะทำให้เรียนได้เร็วและง่ายขึ้น”

  22. ตัวอย่างการเรียนใหม่ (Relearning)

  23. ตัวอย่างการเรียนใหม่ (Relearning)

  24. การระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต • (Redintegrative Memory) การจำแบบบูรณาการข้อมูล หรือ การจำแบบผสมผสานเหตุการณ์ที่ผ่านมา ความจำชนิดนี้เกิดจากการรวบรวมหรือ ผสมผสานเหตุการณ์ที่ผ่านมา โดยอาศัยสิ่งหนึ่งสิ่งใดมาดลใจ “การจำเหตุการณ์ที่เกี่ยวโยงกัน ในอดีตได้”

  25. ตัวอย่างการระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต (Reintegration)

  26. ตัวอย่างการระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต (Reintegration)

  27. ตัวอย่างการระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต (Reintegration)

  28. รูปแบบของการจำ

  29. รูปแบบของการจำ (Memory Models) *** บุตซินและคนอื่นๆ (Bootzin et. Al.1991:210-219) ได้กล่าวถึง รูปแบบของการจำว่ามี 3 ลักษณะ (three store models of memory) ดังนี้ • ระบบการจำจากการสัมผัส • (Sensory Memory) • ระบบการจำระยะสั้น • (Short-Term Memory) • ระบบการจำระยะยาว • (Long-Term Memory)

  30. ระบบการจำจากการสัมผัส (Sensory Memory) เป็นการรับและเก็บข้อมูลความจำด่านแรก ภายหลังจากรับสัมผัสสิ่งเร้าภายนอก Sensory Memory สิ่งเร้าภายนอก ประสาทสัมผัส • แสง • เสียง • กลิ่น • รส • สัมผัสที่ผิวหนัง • ตา • หู • จมูก • ลิ้น • ผิวหนัง *** ถ้าไม่มีการรับสัมผัสที่ประสาทสัมผัสดังกล่าว ย่อมไม่เกิดความจำขึ้น

  31. ตัวอย่างระบบการจำจากการสัมผัส (Sensory Memory)

  32. ตัวอย่างระบบการจำจากการสัมผัส (Sensory Memory)

  33. ตัวอย่างระบบการจำจากการสัมผัส (Sensory Memory)

  34. ตัวอย่างระบบการจำจากการสัมผัส (Sensory Memory)

  35. ระบบการจำระยะสั้น (Short-Term Memory) เป็นความจำต่อเนื่องจากความจำที่ประสาทสัมผัส *** เป็นความจำเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะหน้า แปลความหมาย จากการสัมผัส มาใช้ประโยชน์ ในช่วงสั้นๆ Short – Term Memory (STM) เก็บข้อมูล ได้จำนวนน้อย

  36. ตัวอย่างระบบการจำระยะสั้น (Short-Term Memory)

  37. ตัวอย่างระบบการจำระยะสั้น (Short-Term Memory)

  38. ระบบการจำระยะยาว (Long-Term Memory) เป็นความจำที่ค่อนข้างถาวร อาจอยู่กับคนๆนั้นจนตลอดชีวิตเขา ดึงออกมาใช้ ได้ทันทีในลักษณะ การระลึกได้ (recall) เก็บข้อมูล ได้มาก เป็นความจำ ที่ค่อนข้างถาวร Long – Term Memory (LTM) ความเข้าใจอย่างมีความหมาย ทบทวนและนำมาใช้อยู่เสมอ โดยเคลื่อนตัวมาจาก ความจำระยะสั้น มีความตั้งใจจะจำ มีเทคนิควิธีช่วยจำ

  39. ตัวอย่างระบบการจำระยะยาว (Long-Term Memory)

  40. ตัวอย่างระบบการจำระยะยาว (Long-Term Memory)

  41. องค์ประกอบของการจำ

  42. ช่วงเวลาที่ใช้ในการจำช่วงเวลาที่ใช้ในการจำ *** นักจิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจำและการลืม เป็นคนแรก คือ เอบบิงเฮาส์ (Hermann Ebbinghaus) เอบบิงเฮาส์ ได้ทำการทดลอง โดยให้ผู้ถูกทดลองจำคำ ที่ไม่มีความหมาย พบว่าเมื่อเวลาผ่านไป 20 นาที จำได้ประมาณ 58% 1 ชั่วโมง จำได้ประมาณ 42% 9 ชั่งโมง จำได้ประมาณ 35% 2 วัน จำได้ประมาณ30% 31 วัน จำได้ประมาณ 20% ยิ่งเวลาผ่านไปความจำของมนุษย์ ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ยิ่งเหลือน้อยลง สรุป

  43. ช่วงเวลาที่ใช้ในการจำช่วงเวลาที่ใช้ในการจำ “เวลาเป็นเครื่องรักษาแผลใจ”

  44. ความเข้มของการเรียนรู้ในครั้งแรก ความเข้มของการเรียนรู้ในครั้งแรก *** เรื่องใดก็ตามที่เป็นเหตุการณ์สำคัญ ๆ และมีความหมายต่อชีวิตเราจะจดจำได้ไม่รู้ลืม ความทรงจำในสิ่งที่มีความหมาย มากที่สุดย่อมลบเลือนได้ยากที่สุด และลืมง่ายในสิ่งที่ไร้ความหมาย สำหรับตน

  45. ความเข้มของการเรียนรู้ในครั้งแรก ความเข้มของการเรียนรู้ในครั้งแรก

  46. เทคนิคและวิธีการจำที่ดีเทคนิคและวิธีการจำที่ดี

  47. เทคนิคและวิธีการจำที่ดีเทคนิคและวิธีการจำที่ดี 1. การเรียนมากๆ หรือเรียนบ่อยๆ หรือเรียนให้เกินพอ (Overleaning) 2. การทบทวนเป็นระยะๆ (Periodic Review) • 3.การระลึกถึงสิ่งที่จะจำ • ในขณะที่กำลังฝึกฝนอยู่ • (Recall During Practice)

  48. เทคนิคและวิธีการจำที่ดีเทคนิคและวิธีการจำที่ดี 4.การจัดระเบียบ (Organization) 5.การใช้รหัสช่วย ในการจำ (Coding) 6.การจำอย่างมีหลัก (Principle)

  49. เทคนิคและวิธีการจำที่ดีเทคนิคและวิธีการจำที่ดี 7.การสร้างคำสัมผัส One หนึ่ง ครึ่ง half calf น่อง ห้อง room groom เจ้าบ่าว อ่าว bay day วัน ฟัน tooth booth แผงลอย คอย wait bait เหยื่อล่อ หม้อ pot spot จุด ขุด dig big ใหญ่ แม่ไก่ hen pen ปากกา ครีบปลา fin in ใน ใคร who Two สอง

  50. เทคนิคและวิธีการจำที่ดีเทคนิคและวิธีการจำที่ดี • เพลง  หัวลำไย   (ทำนอง   เพลงคุณลำไย) • ความจำ  ซีรีบรัม  ไม่เลือน        คอยเตือน  สติ  เอาไว้เมดุลลา  การเต้นหัวใจ                   ไฮโป  นั่นไง  ความดันเลือด  มาหิว-อิ่ม  ก็ด้วยเป็นไร                    ส่วน  น้ำลายไหล  ก็  พอนด์  นั่นหนาคิ้ว  ยักคิ้ว                                สมองส่วนกลาง  ลูกตาศูนย์แยกประสาท  ใช่ว่า                    ก็คือ  ทาลามัส  นั่นไง • เหม็น  จริงๆ  ออลแฟลกทอรี  ของใครคุม  เคลื่อนไหว  และ  ศิลปะ  เล่าหนาใครก็รู้  ซีรีเบลรัม  ให้มาไอจาม  กระพริบตา  ก็  เมดุลลา  พาหายใจต่อม sex  37 องศา  มีตั้งมากมายเป็นของ  ไฮโปหรือว่า  นอน  เอน  ความดัน  กระหายน้ำ  นั้นของฉันก็ยังดีก้านสมอง  ชื่อเท่ห์จะตายก็แล้วทำไมไม่ท่องกันละนี่ส่วนกลาง  น้องพอนด์  น้องเม  เป็นหยั่ง  บ่เอิ้น  กันละคุณพี่       หัวโตดี  น้ำหนัก  พันสี่  เท่านั้น            สูตรลัดนี้  เก็บไว้  ร้องทุกวันสอบเอนทรานซ์ติดพลัน                    นำแฟชั่นที่ทันสมัยออลแฟลกทอรี  ไว้  ดม                    เส้นผมก็ทำไฮไลด์ซีรีบรัม  ก็  กล้ามเนื้อลาย                สมองไม่ใช่ควาย ควายจะเรียนอะไร  คิดดูให้ดี                    คิด  คิดดูให้ดี  คิด  คิดดูให้ดี

More Related