1 / 26

การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)

การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking). ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. เหตุผลที่ต้องคิดเชิงระบบ. องค์การทั้งหลายยังแก้ปัญหาไม่ตก ปัญหาไม่หลุดไป อย่างถาวร แก้ปัญหาตรงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มิได้แก้ที่สาเหตุ ชอบแก้ปัญหาตรงที่มันผุดขึ้น เป็นการตามไล่แก้ปัญหา เป็นการแก้ปัญหาแบบ “แยกส่วน”

rune
Download Presentation

การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคิดเชิงระบบ(Systems Thinking) ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร Excellence Training Institution

  2. เหตุผลที่ต้องคิดเชิงระบบเหตุผลที่ต้องคิดเชิงระบบ • องค์การทั้งหลายยังแก้ปัญหาไม่ตก ปัญหาไม่หลุดไป อย่างถาวร • แก้ปัญหาตรงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มิได้แก้ที่สาเหตุ • ชอบแก้ปัญหาตรงที่มันผุดขึ้น • เป็นการตามไล่แก้ปัญหา • เป็นการแก้ปัญหาแบบ “แยกส่วน” • เป็นการแก้ปัญหาที่อาการ Excellence Training Institution

  3. Systems Thinking • There are no right answers. • You won’t be able to “divide your elephant in half.” • Cause-effect will not be closely related in time and space. • You’ll have your cake and eat it too - but not all at once. • The easiest way out will lead back in. • Behavior will grow worse before it grows better. Excellence Training Institution

  4. การคิดเชิงระบบ • การคิดเชิงระบบคือ “การคิดแบบให้เห็นทั้งหมด” • “ทั้งหมด” คือ “หนึ่งเดียว” ที่มีส่วนประกอบเหล่านั้นเชื่อมติดกันทั้งหมด เป็นหนึ่งเดียว • “ความเชื่อมต่อ” คือโครงสร้างของระบบ (Systemic Structure) ที่เรามองเห็นได้ยาก เราจึงไม่ให้ความสำคัญ Excellence Training Institution

  5. ความมั่นคงของระบบ (Systems Stability) • อยู่กับคุณภาพของการเชื่อมต่อระหว่างส่วนประกอบ ทั้งหลายของระบบ • ทุกส่วนประกอบมีส่วนทำให้เกิดเหตุการณ์ขึ้น จงระลึกว่า “ตัวเองมีส่วนช่วย หรือไม่ก็เป็น ผู้ก่อให้เกิดเหตุการณ์นั้นๆ” Excellence Training Institution

  6. เมื่อระบบเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่งเมื่อระบบเชื่อมโยงกันเป็นหนึ่ง • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ส่วนประกอบหนึ่ง ย่อมเป็นแรงส่งอิทธิพล ทำให้ส่วนประกอบอื่นๆ เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้น และส่งอิทธิพลย้อนกลับมาที่จุดเดิมอีก Excellence Training Institution

  7. รูปแบบพฤติกรรมของระบบรูปแบบพฤติกรรมของระบบ • เมื่อเราเห็น “โครงสร้างของระบบ” เราจะมองเห็น “รูปแบบ พฤติกรรมของระบบ” และเราจะสามารถมองเห็นวิธีเปลี่ยนแปลง ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ Excellence Training Institution

  8. A Shift of Mind • การกลับใจ คือ หัวใจขององค์การที่เรียนรู้ • กลับใจจากการเห็นตัวเองว่าไม่เกี่ยวข้องกับโลก เป็นการเห็นว่าตัวเองเชื่อมติดกับโลก และเป็นส่วนหนึ่งของโลก • กลับใจจากเคยมองว่าปัญหาเกิดจาก “คนอื่น หรือสิ่งอื่นนอกตัว” เป็นการมองเห็นว่า ตัวเราเองก่อให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่เราเผชิญอยู่ • เลิกมองที่ส่วนย่อย หรือมองแบบแยกส่วน แล้วหันไปมอง “ทั้งหมด” • เลิกจากการมองว่า “มนุษย์เป็นผู้ตามแก้ปัญหา” หันมามองว่า “มนุษย์ จะก่อให้เกิดสิ่งต่างๆ ได้” Excellence Training Institution

  9. A shift of mind • มนุษย์เป็นผู้สร้างสรรค์อนาคตที่ดีได้ด้วยตัวของมนุษย์เอง • เลิกมองเห็นแต่เพียงส่วนประกอบของระบบ แล้วหันไปมอง ให้เห็นความสัมพันธ์ของกันและกัน หรือความเชื่อมโยงของส่วนประกอบ • เลิกมองเห็นว่าเหตุและผลสัมพันธ์กันเป็นเส้นตรง แล้วหันไปมอง ให้เห็นว่า เหตุและผลสัมพันธ์กันและกันเป็นวงรอบ • เลิกมองแต่เฉพาะเหตุการณ์ (Events) แล้วหันไปมองให้เห็นรูปแบบ พฤติกรรม และการเปลี่ยนแปลงของระบบด้วย Excellence Training Institution

  10. กระบวนการย้อนกลับ(Feedback Process) Excellence Training Institution

  11. กระบวนการย้อนกลับ(Feedback Process) • กระบวนการย้อนกลับ เกิดจากการทำงานของ “พลังความเคลื่อนไหวของระบบ • (Systemic Dynamics)” หรือ “พลัง ความเคลื่อนไหวของโครงสร้าง (Structural Dynamics)” Excellence Training Institution

  12. รูปแบบของกระบวนการย้อนกลับรูปแบบของกระบวนการย้อนกลับ • กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรง (Reinforcing Feedback Process) • กระบวนการย้อนกลับแบบสร้างดุลย์ สร้างเสถียรภาพ หรือ ต่อต้าน (Balancing, Stabilizing or Counteracting Feedback Process) Excellence Training Institution

  13. กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรงกระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรง • คือ กระบวนการที่มีอิทธิพลเพิ่มมากขึ้น ต่อระบบ ทุกครั้งที่ขึ้นวงรอบใหม่ • การเสริมแรงเป็นได้ ทางบวก และ ทางลบ Excellence Training Institution

  14. กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรงกระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรง • กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรงทางบวก (Virtuous Feedback Process) คือ การแผ่อิทธิพลย้อนกลับแบบทำให้เกิดการเจริญเติบโตมากยิ่งๆ ขึ้นไป • กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรงทางลบ (Vicious Feedback Process) คือ การแผ่อิทธิพลย้อนกลับแบบทำให้ เสื่อมถอยลงเรื่อยๆ Excellence Training Institution

  15. ข้อจำกัดการเจริญเติบโต(Limits of Growth) • กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรง ทั้งทางบวกหรือทางลบ ย่อมมีข้อจำกัด • ข้อจำกัด จะขัดขวางอิทธิพลการเสริมแรงให้ช้าลง หยุด หรือเปลี่ยนทิศทาง กลับได้ Excellence Training Institution

  16. กระบวนการย้อนกลับแบบสร้างดุลย์กระบวนการย้อนกลับแบบสร้างดุลย์ • จะเกิดขึ้นทุกครั้ง ที่มีการปฏิบัติแบบมีเป้าหมาย คือ เกิดอิทธิพลย้อนกลับ เพื่อบังคับการกระทำ ให้บรรลุเป้าหมาย Excellence Training Institution

  17. ประโยชน์ของกระบวนการย้อนกลับประโยชน์ของกระบวนการย้อนกลับ • กระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรง เป็นกระบวนการที่ ค้นหา และศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงเล็กๆ อาจกลายเป็นใหญ่โตได้ • กระบวนการย้อนกลับแบบสร้างดุลย์ เป็นกระบวนการค้นหาว่า จุดใดเป็นการสร้างเสถียรภาพ และจุดใดเป็น การต่อต้าน Excellence Training Institution

  18. ต้นแบบระบบ(Systems Archetypes) Excellence Training Institution

  19. ต้นแบบระบบ • คือ รูปแบบพฤติกรรมที่เกิดซ้ำๆ เป็นเสมือนกุญแจสำหรับการเรียนรู้ เพื่อให้เห็นโครงสร้างของระบบ การเห็นโครงสร้างของระบบ จะช่วยให้เห็น “พลังคานงัด” Excellence Training Institution

  20. ต้นแบบระบบ “Limits of Growth” • โครงสร้าง “ข้อจำกัดการเจริญเติบโต” คือ มีกระบวนการย้อนกลับแบบเสริมแรงทางบวก อยู่ระยะหนึ่ง แล้วจึงมีกระบวนการย้อนกลับ แบบสร้างดุล หรือแบบต่อต้านมาขัดขวาง การเจริญเติบโต Excellence Training Institution

  21. ต้นแบบระบบ “Shifting the Burden” • โครงสร้าง “ภาระย้ายที่” คือมีกระบวนการย้อนกลับ แบบสร้างดุลย์สองกระบวนการ ที่พยายามแก้อาการของปัญหา แต่วงรอบหนึ่ง มุ่งแก้ที่ อาการของปัญหา และอีกวงรอบหนึ่งมุ่งแก้ที่สาเหตุ วงรอบหลังอาจมีเวลาทิ้งช่วง และเกิดมี วงรอบเสริมแรงทางลบมาทำลายการแก้ปัญหาที่สา-เหตุ Excellence Training Institution

  22. ต้นแบบระบบ “Fixes that Backfire” • โครงสร้าง “ระงับปัญหาเสียงดัง” คือเป็นวงรอบสร้างดุลย์เพื่อ “ระงับปัญหาเสียงดังน่ารำคาญ” หรือการ แก้ปัญหาที่อาการ แต่เกิดผลข้างเคียง เกิดวงรอบเสริมแรง ทางลบ และสถานการณ์ต่างๆ ก็จะเลวลง ตลอดเวลา Excellence Training Institution

  23. ต้นแบบระบบ “Tragedy of the Commons” • โครงสร้าง “ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์” เป็นโครงสร้างแบบบุคลากรได้ผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรของส่วนรวม และเจริญเติบโต แต่เมื่อถึงจุดหนึ่ง ทรัพยากรส่วนกลางจะหมดลง แล้วเสื่อมสลายไปทั้งบุคลากรและองค์การ Excellence Training Institution

  24. ต้นแบบระบบ “Accidental Adversaries” • โครงสร้าง “การเป็นศัตรูโดยไม่ได้ตั้งใจ” เป็นลักษณะ โครงสร้างที่แสดงให้เห็นการเป็นศัตรูกัน ของกลุ่มคนที่ควรจะเป็น หรืออยากจะเป็นหุ้นส่วนของกัน และกัน Excellence Training Institution

  25. หลักของคานงัด (Principles of Leverage) • การสำรวจดูระบบว่า การกระทำหรือการเปลี่ยนแปลงอะไรในโครงสร้าง จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ที่ดีขึ้นอย่างถาวร โดยอาศัยหลัก “พอดี” ไม่ต้องออกแรงมากแต่ตรงจุด • ต้นแบบระบบทั้งหลายจะช่วยให้เห็นโครงสร้าง และพิจารณาพลังคานงัดได้ตรงจุด Excellence Training Institution

  26. แบบฝึกการคิดเชิงระบบ • ลองหาปัจจัยที่ส่งผลกระทบให้การทำงานมีประสิทธิภาพมีปัจจัยอะไรบ้าง • เขียน Loop and Ling ปัจจัยต่างๆ ที่เป็น • วัฏจักรเดียวกัน หรือเป็นวงจรไหลเวียนที่เป็นระบบ Excellence Training Institution

More Related