250 likes | 399 Views
อนาคตเด็กไทย. ดร. รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์. Agenda “อนาคตเด็กไทย”. โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก ปัญหาการศึกษาไทย แนวทางการแก้ไขปัญหา เด็กไทยก็ฉลาดถ้ามีโอกาสเรียนรู้ Technology Enable Learning Model. โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก.
E N D
อนาคตเด็กไทย ดร. รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์
Agenda “อนาคตเด็กไทย” • โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก • ปัญหาการศึกษาไทย • แนวทางการแก้ไขปัญหา • เด็กไทยก็ฉลาดถ้ามีโอกาสเรียนรู้ • Technology Enable Learning Model
โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลกโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก • ประชากรโลก เพิ่มขึ้นจากร้อยกว่าล้านคนเมื่อ 200 ปีที่แล้ว เป็น 7,000 ล้านคนในปัจจุบัน เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในโลกที่มีทรัพยากรอันจำกัด และกำลังหมดลงทุกวัน • ทฤษฎีการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตกล่าวว่า ธรรมชาติจะมีการคัดเลือกสายพันธุ์ โดยกำหนดให้ สายพันธุ์ที่มีความเข้มแข็ง จึงจะสามารถอยู่รอดดำรงอยู่ได้ และพัฒนาสืบต่อสายพันธุ์ต่อไป การแข่งขันระหว่างประเทศ ระหว่างเชื้อชาติ ระหว่างสังคม และส่วนตัวบุคคลก็มีมากยิ่งขึ้น • ทุกชีวิตต้องแข่งขันเพื่อความอยู่รอดของตนเอง ของครอบครัวและพวกพ้อง ของสังคมและทุกประเทศชาติกำลังดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด แล้วในอนาคตใครจะอยู่รอดละ
รายงานของ World Economic Forumประจำปี2012-1013 • ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานประชุมระดับโลก World Economic Forum เมื่อตอนต้นปี 2512 โดยมีนายกรัฐมนตรีของไทยไปร่วมงาน และให้การบรรยายพิเศษเรื่องบทบาทของผู้หญิงในการเป็นผู้นำประเทศ (ไทย) • ทำการศึกษาศักยภาพการแข่งขัน และความเจริญเติบโตของประเทศต่างๆ จาก 144 ประเทศทั่วโลก ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า สังคม ชีวิตความเป็นอยู่ โครงสร้างพื้นฐาน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา การศึกษา คุณภาพชีวิต สุขภาพและสาธารณสุข เป็นต้น • คุณทราบไหมว่าประเทศไทยเราอยู่ที่ไหน เมือเทียบกับประเทศต่างๆ ในประชาคมโลกปัจจุบัน
ศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทยศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทย
คุณภาพการศึกษาในระดับประถมศึกษา Quality of Primary Education ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 4 • เกาหลี 14 • มาเลเซีย 24 • ศรีลังกา 39 • อินโดนีเซีย 60 • ซิมบักเว่63 • เคนยา 78 • เวียดนาม 80 • ประเทศไทย 82 • ฟิลิปปินส์ 86 • กัมพูชา 98
คุณภาพการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ Quality of Math and Science Education ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 1 • เกาหลี 8 • มาเลเซีย 20 • อินโดนีเซีย 45 • ซิมบักเว่50 • ประเทศไทย 61 • ศรีลังกา 69 • เคนยา 76 • เวียดนาม 80 • ฟิลิปปินส์ 98 • กัมพูชา 90
คุณภาพระบบการศึกษา Quality of Education System ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 3 • มาเลเซีย 14 • ศรีลังกา 33 • ฟิลิปปินส์ 45 • อินโดนีเซีย 47 • กัมพูชา 58 • เวียดนาม 72 • ประเทศไทย 78
คุณภาพการศึกษาด้านการบริหาร Quality of Management School ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 6 • มาเลเซีย 26 • ศรีลังกา 38 • ฟิลิปปินส์ 39 • ประเทศไทย 62 • อินโดนีเซีย 70 • กัมพูชา 96 • เวียดนาม 125
คุณภาพหน่วยงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ Quality of Scientific Research Institutions ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 12 • มาเลเซีย 28 • อินโดนีเซีย 56 • ประเทศไทย 60 • กัมพูชา 68 • เวียดนาม 87 • ฟิลิปปินส์ 102
การบริการของระบบการวิจัยเฉพาะทางและการฝึกอบรม Local availability of specialized research and training services ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 16 • มาเลเซีย 17 • อินโดนีเซีย 57 • กัมพูชา 58 • ฟิลิปปินส์ 62 • ศรีลังกา 63 • ประเทศไทย 66 • เวียดนาม 126
การร่วมมือทางวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม University – industry Collaboration in R&D ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 5 • มาเลเซีย 18 • อินโดนีเซีย 40 • ประเทศไทย 46 • กัมพูชา 71 • ฟิลิปปินส์ 79 • เวียดนาม 97
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม Capacity of Innovation ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 20 • มาเลเซีย 18 • อินโดนีเซีย 40 • เคนยา 46 • กัมพูชา 65 • แทนซาเนีย 76 • มองโกเลีย 73 • เวียดนาม 78 • ประเทศไทย 79 • ฟิลิปปินส์ 86
รายได้ประชาชาติต่อประชากร GDP per Capita ประเทศ GDP per Capita in $ • สิงคโปร์ 43,117 • บรูไน 31,239 • มาเลเซีย 8,423 • แนมเบีย 5,652 • ประเทศไทย 4,992 • อินโดนีเซีย 3,015 • ฟิลิปปินส์ 2.007 • เวียดนาม 1,174 • กัมพูชา 814
แนวทางการแก้ไขปัญหาพัฒนาเด็กไทย อนาคตของชาติ • การปรับปรุงและพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้วย • วิถีพระพุทธศาสนา กระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบ • วิทยาการเรียนรู้ การเข้าใจกระบวนการพัฒนาการของสมองในการเรียนรู้ การคิด ความจำ และการสร้างสรรค์ • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในโลกสมัยใหม่
อริยะสัจสี่ การเรียนรู้อันประเสริฐ • ทุกข์ให้รู้ • สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ ให้เข้าใจ • นิโรธ การดับทุกข์ ทำให้ถึง ทำให้แจ้ง และ • มรรค หนทางการดับทุกข์ ให้ปฏิบัติ
วงจรปัญหาของประเทศไทยวงจรปัญหาของประเทศไทย • ความด้อยคุณภาพการศึกษาในระดับประถมศึกษา (82) • ประชาชนมีรายได้น้อย (77) • ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม อยู่ในระดับต่ำมาก (79) • สะท้อนออกมาในคุณภาพการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (61) • การร่วมมือทางวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม (46) • สรุปเป็นปัญหาของคุณภาพระบบการศึกษา (72) • การบริการของระบบการวิจัยเฉพาะทางและการฝึกอบรม (66) • แม้กระทั่งการศึกษาด้านการบริหาร (62) • และมีผลต่อคุณภาพหน่วยงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (60)
สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ ให้เข้าใจ • ปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยคือ การไม่กล้าเผชิญหน้ากับความจริง เมื่อไม่มีใครรู้ปัญหา หรือยอมรับความจริงของปัญหา ก็เลยไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้องเสียที • เด็กทารกเมื่อคลอดจากครรภ์มารดา จะมีเซลล์ประสาทในสมองประมาณ 100 พันล้านเซลล์ และมีขนาดของสมองประมาณ 350 cc. สมองของเด็กทารกจะอยู่ภายใต้การดูแลของมารดาต่อไปอีกถึง 3 ปี โดยจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นมีขนาดประมาณ 1,400 cc. สมองของเด็กไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติไหน ไม่ว่าจะเป็นไทย จีน หรือฝรั่ง เด็กจะมีสมองที่มีขนาดและมีจำนวนเซลล์ประสาทประมาณเท่าๆ กัน ไม่มีใครฉลาดหรือโง่มากกว่าใคร แต่เป็นเพราะการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วงที่เป็นวัยเด็ก และมีการเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่แตกต่างกัน จึงทำให้ผู้คนต่างเผ่าพันธุ์ มีความฉลาดหลักแหลมที่แตกต่างกัน ความสามารถของเด็กเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ของเด็กจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะจากผู้ใหญ่เป็นสำคัญ
นิโรธ การดับทุกข์ ทำให้ถึง • เด็กไทยก็เก่งได้ ถ้ามีโอกาสเรียนรู้อย่างถูกต้อง • Big Five Modelคุณสมบัติที่ต้องเรียนรู้และพัฒนาขึ้น สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์เราในโลกปัจจุบัน • ต้องเป็นคนที่มีใจเปิดกว้างเพื่อรับรู้และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ (Openness) • ต้องเป็นคนที่รู้จักการประนีประนอม อยู่ในทางสายกลาง รู้จักยอมรับ และการอยู่ร่วมกันได้ในสังคม (Agreeableness) • ต้องเป็นคนที่มีจิตสำนึกดี มีเหตุและผล ต้องมีสติสัมปชัญญะ รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี (Conscientiousness) • ต้องเป็นคนที่ความกล้าหาญ มุ่งมั่น มีความเปิดเผยบริสุทธิ์ใจ และมีความสามารถในการแสดงออกที่ดีสู่สังคม (Extraversion) • ต้องเป็นคนที่มีจิตใจที่มั่นคง (Emotional Stability)
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาความสำคัญของพระพุทธศาสนา • คุณสมบัติสำคัญทั้ง 5 ประการนี้ มีความสอดคล้องกับหลักการในทางพระพุทธศาสนา กล่าวคือ บุคลิกภาพที่มีการเปิดกว้างเพื่อเรียนรู้ นั้นก็จะได้ให้เราเป็นคนใฝ่รู้ เพื่อจะได้มีการเรียนรู้เป็นสัมมาทิฎฐิ การรู้จักประนีประนอม ก็เพื่อ ให้รู้จักมีพรหมวิหาร การมีจิตสำนึก รู้จักผิดชอบชั่วดี ให้มีการอบรมจิต เพื่อทำจิตให้บริสุทธิ์ การมีความกล้าหาญ ความเปิดเผยในการแสดงออก ก็เพื่อให้เรามีความองอาจในการทำความดี เป็นผู้นำที่สามารถชี้นำสังคมให้มีความถูกต้องได้ และการมีจิตใจที่มั่นคง ก็คือการให้เราเป็นคนมีปัญญา ให้มีความเที่ยงธรรม มีใจเป็นอุเบกขา รู้ความจริงเห็นชีวิตที่เป็นจริงตามธรรมชาติ
มรรค หนทางการดับทุกข์ ให้ปฏิบัติ • วิทยาการเรียนรู้ Cognitive Science ที่มีการศึกษากระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ขึ้น นักประสาทวิทยานายเอริค แคนเดล (Eric Kandle) ได้รางวัลโนเบลในปี 2000 จากการศึกษาพบว่ากระบวนการเรียนรู้ ได้ศึกษาพบว่า ปัญญาเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ เป็นการที่เซลล์ประสาทมีการรับรู้ และสามารถพัฒนาการ จดจำเรื่องที่เกิดขึ้นในกระบวนจิต เป็นประสบการณ์ การเรียนรู้เป็นปัญญานี้ จึงมีความเกี่ยวข้องกับความจำ เพราะการกระทำหลายๆ ครั้ง เป็นการเรียนรู้ ทำให้เกิดความจำ จนจำได้ขึ้นใจ คือทำหลายครั้ง จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงในทาง โครงสร้างชีวะเคมีขึ้น ภายในเซลล์ประสาทเป็น ความยืดหยุ่นของเซลล์ประสาทในสมอง Brain Elasticity • หลักการสอนเด็กในวิทยาการเรียนรู้สมัยใหม่ จึงเป็นการสร้างประสบการเรียนรู้ให้เป็นภูมิปัญญาของประสบการณ์ Tacit Knowledge ในขณะเดียวกันก็มีการฝึกทักษะการคิดหาเหตุผลเป็นการคิดสร้างสรรค์เกิดเป็น Explicit Knowledge ประกอบกับการประยุกต์นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการสร้างประสบการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ
กระบวนการพัฒนาระบบการเรียนรู้ของเด็ก Technology Enable Learning Model (TELM) • Knowledgeเป็นกระบวนการให้ความรู้พื้นฐานแก่เด็กแบบ Didactic Teaching จึงมีการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีในการเรียนรู้เป็น Drill and Practice Software และการเรียนรู้ผ่านการชม ภาพยนตร์การศึกษา VDO Stream และ U-tube • Exploration & Discoveryเป็นกระบวนการเรียนรู้การสืบค้นหาข้อเท็จจริง ทั้งนี้ครูจะมอบหมายภารกิจให้แก่เด็ก ในการสืบค้นหาข้อมูลที่มีอยู่หลากหลายในอินเตอร์เน็ต • Creation & Ideaเป็นกระบวนการเรียนรู้การประมวลผลเป็นความคิด Critical Thinking อย่างมีเหตุผล, และการคิด Creative Thinking อย่างมีความสร้างสรรค์ • Presentation (Telling me) เป็นกระบวนการเรียนรู้วิธีการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือค้นพบบอกเล่าแก่เพื่อนๆ และผู้ปกครอง ให้รับทราบด้วยการแลกเปลี่ยน Exchange รับฟังความเห็นของผู้อื่น Interact • Evaluation & Development กระบวนการนี้ จะเป็นการประเมินผลการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น และมีการพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อการใช้ประโยชน์ในชีวิตและสังคม
กระบวนการเรียนรู้ TELM • Book • Multimedia Contents • Youtube • Learning Object • Educational Games • Website • Explore in real world • Outdoor activities • Museum • Libraries & Digital Libraries • Mobile Devices • Knowledge • Exploration & Discovery • กระบวนการเรียนรู้ TELM ประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ Knowledge, Exploration & Discovery, Creation & Idea, Presentation, และ Evaluation & Development • Report • Speech • Presentation on stage • Social Media Facebook / Tweeter / Instragram / Blog / eMail • Leadership • Story Teller • Creation & Idea • Presentation Evaluation & Development • Learning & Understanding • Critical Thinking • Creative Thinking • Imagination • Arts & Design
“ถึงเวลาที่เราต้องร่วมมาปกป้องและพัฒนาเด็กไทย ลูกหลานของเรา เพื่ออนาคตของชาติบ้านเมือง”
ขอบคุณ รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์ rungruang.lim@gmail.com