1 / 12

อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า

อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า. นพ.อำพล จินดาวัฒนะ. 25 เมษายน 2549. ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ. กายภาพ/ชีวภาพ. นโยบายสาธารณะ. กรรมพันธุ์. เศรษฐกิจ/การเมือง. พฤติกรรม. วัฒนธรรม/ศาสนา. ประชากร/การศึกษา. ความเชื่อ. ปัจเจกบุคคล. สภาพแวดล้อม. ความมั่นคง. จิตวิญญาณ.

rumer
Download Presentation

อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตการสาธารณสุขไทย ในช่วงทศวรรษหน้า นพ.อำพล จินดาวัฒนะ 25 เมษายน 2549

  2. ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข บริการส่งเสริม&ป้องกัน& รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัต

  3. ระบบสุขภาพแห่งชาติทิศทาง – สร้างนำซ่อม, HFA AFH (4) รัฐธรรมนูญ (1) โลกาภิวัตน์ ระบบย่อยในระบบสุขภาพแห่งชาติ -ระบบนโยบาย -ระบบสร้างความรู้-ระบบสร้างเสริม -ระบบข้อมูล&การสื่อสารสุขภาพ-ระบบควบคุมป้องกัน -ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น -ระบบบริการสธ. -ระบบกำลังคนของสาธารณสุข-ระบบคุ้มครองผู้บริโภค -ระบบการเงินการคลัง (5) ปฏิรูปราชการและกระจายอำนาจ (2) เศรษฐกิจ กลไกในระบบสุขภาพแห่งชาติ (6) สถานการณ์สุขภาพ (3) สังคม กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบันบทบาทหน้าที่ ปัจจุบันสู่อนาคตโครงสร้างกสธ. ปัจจุบันสู่อนาคต

  4. พ.ร.บ. สวรส. • (35) การปฏิรูประบบราชการ และการกระจายอำนาจ (42,45) สร้างความรู้/การเรียนรู้ระบบสุขภาพ • เครื่องมือปรับการทำงานของภาครัฐ • พ.ร.บ.กองทุนสร้างเสริมสุขภาพ(43) • สนับสนุนรูปธรรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบกว้าง • พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพ(45) • ปฏิรูประบบบริการ • สาธารณสุข โดยใช้ • การเงินเป็นเครื่องมือ • กลไกนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (ร่าง) พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ (43) การปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพที่สำคัญ การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ (HSR) มวลประชาร่วมใจเพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า (AFH HFA)

  5. สุขภาพดีถ้วนหน้า สิทธิ หน้าที่ ความมั่นคงด้านสุขภาพ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.), สมัชชาสุขภาพ • การสร้างเสริมสุขภาพ • การสร้างและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ • การป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ • ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสารด้านสุขภาพ • การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ • บุคลากรด้านสาธารณสุข • ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ • การเงินการคลังด้านสุขภาพ • การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ • การพัฒนานโยบายสาธารณสะเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกระดับในระบบสุขภาพ

  6. หน่วยงานส่วนภูมิภาค อปท. ความเชื่อมโยงของกลไกต่างๆ ในระบบสุขภาพแห่งชาติ รัฐสภา ครม. สภาที่ปรึกษา สภาพัฒน์ฯ ธรรมนูญ ว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติ • ให้ข้อเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ • บริหารกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ สคสช. สสส. กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอื่นๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสุขภาพ สปสช. สวรส. • สร้างความรู้ • เชิงระบบ • บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ • ดำเนินงานด้านสุขภาพ เครือข่าย วิชาการ วิชาชีพ ด้านสุขภาพ เครือข่าย ประชาคมและภาคีสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย สื่อมวลชน เครือข่ายเอกชนด้านสุขภาพ เครือข่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ (สวรส. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สสส.-สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สปสช.-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ,สคสช.-สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ) สปรส.26 ธ.ค. 2548

  7. 6 10 สนองงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่เกี่ยวกับสุขภาพ ดูแลการควบคุมป้องกันโรค และภัยที่คุกคามสุขภาพ 2 5 ดูแลการบังคับใช้ กฎหมายด้านสุขภาพ ดูแลการสร้างและการจัดการความรู้ด้าน สุขภาพ 7 ดูแล กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ 9 ดูแลการเงินการคลังเพื่อจัดให้มีบริการสุขภาพ 4 3 ดำเนินงานด้านสุขภาพระหว่างประเทศ เสริมสร้างศักยภาพ ด้านสุขภาพแก่องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆและ ภาคประชาชน กำหนดและกำกับดูแลมาตรฐาน ด้านสุขภาพ แก่ประชาชนทั่วไปและประชาชนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 8 สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพของทรัพยากรด้านสุขภาพ บทบาทหน้าที่กระทรวงสาธารณสุขที่คาดหวัง ณ ปี 2550-2555

  8. อนาคต 5 ปี( 2550 – 2555 ) ปัจจุบัน(2549) อนาคตหลังจากนั้น Excellence center &รพ.เฉพาะทาง 1.พัฒนา ปรับปรุง รูปแบบต่อเนื่อง หรือ2.ให้ อปท.เข้ามามีส่วน ร่วมในดีกรีที่มากขึ้น หรือ • แต่ละแห่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่มิใช่ราชการ (นิติบุคคล) • รวมกันเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐที่มิใช่ราชการในกำกับของกสธ.(นิติบุคคล)(1) 3๐care 2๐care 3.ถ่ายโอนให้ อปท. กำกับดูแล 1๐care

  9. (1) (1) เป็นนิติบุคคลที่ประกอบด้วยสถานบริการต่างระดับ อาจยึดตาม พท.จังหวัด หรือกลุ่มจังหวัด (region) หรือเป็นนิติบุคคลที่ประกอบด้วยสถานบริการต่างระดับ อาจมีเฉพาะ รพ. ส่วน สอ.อาจถ่ายโอนสู่ อปท. เพื่อทำงานด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ (งานสาธารณสุข) • การปรับเป็นนิติบุคคล ควรใช้การตรา พ.ร.บ.รองรับเป็นการเฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะจำเพาะ • (2) ควรใช้วิธีวิจัยทดลองด้วยการปฏิบัติจริงในบางพื้นที่/บางหน่วยงาน • (3) กสธ. ส่วนกลางควรมีกลไกดูแลการประสานนโยบายและทิศทางในภาพรวม เพื่อให้เกิดเอกภาพเชิงนโยบาย แต่หลากหลายเชิงปฏิบัติ(ไม่ใช่กลไกบังคับบัญชา

  10. กสธ. รมว. สธ. ปลัด กสธ. หน่วยงาน กลไกดูแลนโยบายส่งเสริมสนับสนุนสถานบริการสุขภาพในกำกับ นิติบุคคลบริการสุขภาพ กรมจังหวัด สสจ. นิติบุคคลบริการสุขภาพ สสอ.

  11. แผนและขั้นตอนไปสู่เป้าหมายแผนและขั้นตอนไปสู่เป้าหมาย 1. เสนอผลการสังเคราะห์ต่อผู้กำหนดนโยบายเพื่อตัดสินใจ • บทบาทหน้าที่ กสธ. • แนวทางการปรับโครงสร้าง • ทิศทางการปรับเปลี่ยนสถานภาพ สถานบริการสุขภาพ 2. กสธ.ตั้งกลไกดูแลการปรับเปลี่ยน • ให้มี คกก. ประกอบด้วยบุคคลจากหลายภาคส่วน • มีองค์กรรองรับการทำงาน 5-10 ปี “สำนักบริหารการเปลี่ยนแปลง กสธ.” • หน้าที่ • จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง • สนับสนุนการทำงานวิชาการจัดให้มีการเตรียมความพร้อมทุกด้าน • เป็นที่ปรึกษาของผู้กำหนดนโยบาย ฯ

  12. สวัสดี ขอบพระคุณ

More Related