1 / 35

หน่วยที่ 6 การคำนวณดอกเบี้ย

หน่วยที่ 6 การคำนวณดอกเบี้ย. ผศ.สุกัญญา เรืองสุวรรณ. ดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว. ดอกเบี้ย คือ จำนวนเงินที่ผู้กู้ (ลูกหนี้) จะต้องจ่ายให้เจ้าของเงิน (เจ้าหนี้) เพื่อตอบแทนการใช้ประโยชน์จากเงินต้นตามระยะเวลาที่ตกลงกัน. I = P i n A = P + I = P + Pin = P( 1 + in ).

rudolf
Download Presentation

หน่วยที่ 6 การคำนวณดอกเบี้ย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 6การคำนวณดอกเบี้ย ผศ.สุกัญญา เรืองสุวรรณ

  2. ดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว • ดอกเบี้ย คือ • จำนวนเงินที่ผู้กู้ (ลูกหนี้) จะต้องจ่ายให้เจ้าของเงิน (เจ้าหนี้) เพื่อตอบแทนการใช้ประโยชน์จากเงินต้นตามระยะเวลาที่ตกลงกัน I = P i n A = P + I = P + Pin = P( 1 + in )

  3. ดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว I = P i n A = P + I = P + Pin = P( 1 + in ) P เป็นเงินต้น A เป็นเงินรวม i คืออัตราดอกเบี้ย n คือระยะเวลา (ปี) I คือดอกเบี้ย

  4. ตัวอย่างที่ 1 • นาย ก. กู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อมาลงทุนปลูกหม่อน เลี้ยงไหม จำนวน 25,000 บาท มีกำหนดเวลา 6 เดือน คิดอัตราดอกเบี้ย 6% ต่อปี เมื่อครบกำหนดเวลา นาย ก. จะต้องใช้เงินคืนสหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นเงินรวมเท่าใด อัตราดอกเบี้ย 6% ต่อปี 1 ปี = 12 เดือน ถ้า 6 เดือน อัตราดอกเบี้ย = (6%)/2 = 3%

  5. ตัวอย่างที่ 1 ถ้า 6 เดือน อัตราดอกเบี้ย = (6%)/2 = 3% กู้เงิน 100 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย 3 กู้เงิน 25,000 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย =(3/100) x 25000 =750 เงินต้น 25,000บาท + ดอกเบี้ย750 รวมต้องจ่ายเงินคืน 25,750 บาท

  6. ตัวอย่างที่ 1 A = P( 1 + in ) = 25000( 1 + 0.06x0.5 ) = 25,750 รวมต้องจ่ายเงินคืน 25,750 บาท

  7. ตัวอย่างที่ 2 คุณแหวนเพชร อยากทราบว่าสหกรณ์ออมทรัพย์ คิดอัตราดอกเบี้ยเท่าใด เมื่อกู้เงินมา 20,000 บาท แล้วเสียดอกเบี้ย 750 บาท ในระยะเวลา 6 เดือน

  8. ตัวอย่างที่ 2 จากเงินกู้ 20000 บาท เสียดอกเบี้ย 750 บาท ถ้ากู้เงิน 100 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย =(750/20000) x 100 =3.75 นั่นคือในเวลา 6 เดือน เสียดอกเบี้ยร้อยละ 3.75= 3.75% ดังนั้นถ้าเวลา 1 ปี = 12เดือน อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.75x2 = 7.50

  9. ตัวอย่างที่ 2 I = Pin i = I . Pn = 750 . 20000x0.5 = 0.075 เสียดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี

  10. ให้นักศึกษา ฝึกทำโจทย์ในตัวอย่างที่ 3ใช้เวลา 15 นาที

  11. ตัวอย่างที่ 3 ลูกหนี้คนหนึ่งยืมเงินไปลงทุนปลูกดอกไม้ เป็นเวลา 6 เดือน เมื่อครบกำหนดลูกหนี้นำเงินมาคืนคุณลายสิงห์ พร้อมดอกเบี้ยรวม 840 บาท ถ้าคิดอัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี คุณลายสิงห์ให้ลูกหนี้รายนี้ยืมเงินไปเท่าใด

  12. ตัวอย่างที่ 3 ใบงานที่ 1 ในเวลา 12 เดือน เสียดอกเบี้ยร้อยละ 10 ในเวลา 6 เดือน เสียดอกเบี้ยร้อยละ 5 ถ้ากู้เงิน 100 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย 5 บาท รวม เงินต้น+ดอกเบี้ย = 100 + 5 = 105 บาท เงินรวม 105 บาท มาจากเงินต้น 100 บาท ถ้าเงินรวม 840 บาท มาจากเงินต้น (100/105) x 840 = 800

  13. ตัวอย่างที่ 3 A = P( 1 + in ) P = A . (1+in) = 840 . (1+ 0.1x0.5) = 800 นาย ก. กู้เงินมา 800 บาท

  14. การผ่อนส่ง ( Partail Payments ) การผ่อนชำระเงินต้นเป็นงวด อาจจะเป็นงวดรายสัปดาห์ รายเดือน ราย 2 เดือน หรือรายปี ครึ่งปี หรืออื่นๆ แล้วแต่จะตกลงกัน การคำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องผ่อนส่งรายงวดนี้ วิธีหนึ่งที่นิยมใช้มาก คือ กำหนดให้ชำระเงินมัดจำจำนวนหนึ่งก่อนแล้วจึงผ่อนส่งที่เหลือ พร้อมค่าธรรมเนียม (carrying charge)โดยทั่วไปคิดเป็นร้อยละของเงินต้นหรือดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว เรียกวิธีFlat rate

  15. Flat rate ให้ P เป็นจำนวนเงินกู้คงเหลือ ( หลังจากชำระเงินมัดจำแล้ว ) I เป็นค่าธรรมเนียมหรืออัตราดอกเบี้ยเชิงเดี่ยว m เป็นจำนวนงวดทั้งหมด R เป็นจำนวนเงินผ่อนส่งแต่ละงวด R = P + I . m I = P i n

  16. ตัวอย่างที่ 5 • นายเล็ก ต้องการซื้อเครื่องซักผ้า • ราคาจำนวน 15,600 บาท และเสียดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ถ้านายเล็ก ต้องการผ่อนชำระค่าเครื่องซักผ้าเป็นเวลา 10 เดือน จะต้องผ่อนเดือนละเท่าใด P = 15,600 i = 15/100 = 0.15 m = 10

  17. P = 15600 บาท i = 15/100 = 0.15 ต่อปี m = 10 n = 10/12 จำนวนดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย I = P i n I = 15,600 x 0.15 x 10/12 I = 1,950

  18. จำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือนจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน R = P + I . m R = 15,600 + 1,950 . 10 R = 1,755 บาทต่อเดือน

  19. ตัวอย่างที่ 6 ร้านจำหน่ายรถยนต์มือสองแห่งหนึ่ง ขายรถยนต์คันหนึ่งในราคา 250,000 บาท ในกรณีที่ลูกค้าต้องการผ่อนชำระจะต้องวางเงินมัดจำ 20% ของราคารถ และ เสียค่าธรรมเนียมแบบ Flat rate ในอัตราร้อยละ 10 ต่อปี ถ้าลูกค้าต้องการผ่อนชำระเป็นระยะเวลานาน 36 เดือน อยากทราบว่าลูกค้าจะต้องผ่อนชำระเดือนละเท่าใด P = 250,000 i = 10/100 = 0.10 m = 36

  20. จะต้องวางเงินมัดจำ 20% ของราคารถ = 0.20 x 250,000 = 50,000 เหลือเงินที่ต้องผ่อนจำนวน 250,000 – 50,000 = 200,000 จำนวนดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย I = P i n I = 200,000 x 0.10 x 36/12 I = 60,000 n = 36/12

  21. จำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือนจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน R = P + I . m R = 200,000 + 60,000 . 36 R = 7,222.22 บาทต่อเดือน

  22. R = 200,000 + 60,000 . 36 = 7,222.22 R = 200,000. 36 + 60,000. 36 ดอกเบี้ย เงินต้น R = 5,555.55 + 1,666.67

  23. ใบงานหมายเลข 6.2

  24. ตัวอย่างที่ 4 • ซอนย่า ใช้บริการสินเชื่อเพื่อการศึกษาจากบริษัทที่ให้บริการสินเชื่อรายย่อย โดยกู้เงินจำนวน 2000 บาท จ่ายเงินต้นคืน 100 บาท ทุกเดือนพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 0.75 ของเงินต้นคงเหลือในแต่ละเดือน จงคำนวณหาดอกเบี้ยทั้งหมด Flat rate คิดแบบลดต้นลดดอก

  25. ตัวอย่างที่ 4 ดอกเบี้ยร้อยละ 0.75 ของเงินต้นคงเหลือในแต่ละเดือน เดือนที่ 1 กู้เงิน 2000 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย 2000x0.0075 = 15 บาท เดือนที่ 2 กู้เงินคงเหลือ 2000 – 100 = 1900 บาท ต้องเสียดอกเบี้ย 1900x0.0075 = 14.25 บาท

  26. An =[2000-100(i-1)]x0.0075

  27. Sn = [2000-100(i-1)]x0.0075 =0.0075 [2000 - 100(i-1)] =0.0075 [2000 - 100(i-1)] =0.0075 [20x2000–100(i-1)] =0.0075 [40000–100(i-1)]

  28. Sn= 0.0075 [40000–100(i-1)] • (i-1)= i - 1 =n/2 (n+1) - 20 =20/2 (21)-20 =190

  29. Sn= 0.0075 [40000–100(i-1)] Sn= 0.0075 [40000–100(190)] = 0.0075 [40000–19000] = 0.0075 [21000] = 157.50 ซอนย่า ต้องชำระดอกเบี้ย ทั้งหมด 157.50 บาท

  30. แบบฝึกหัดที่ 6.2

  31. www.animationfactory.com Title Backdrop Slide Backdrop Print Backdrop Backdrops: - These are full sized backdrops, just scale them up! - Can be Copy-Pasted out of Templates for use anywhere! • Additional Graphics: • Scale them up or down! • .GIF clipart is animated. • .JPG clipart can be scaled up and take up little file space. • .PNG clipart can be scaled unusually large without distortion.

More Related