1 / 157

การออกระบบ : ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

การออกระบบ : ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs. ความหมายของต้นทุนมาตรฐาน. การกำหนดต้นทุนไว้ล่วงหน้า ภายใต้ ระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ. การดำเนินงานภายใต้ ระบบต้นทุนมาตรฐาน.

roz
Download Presentation

การออกระบบ : ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐานการออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

  2. ความหมายของต้นทุนมาตรฐานความหมายของต้นทุนมาตรฐาน การกำหนดต้นทุนไว้ล่วงหน้า ภายใต้ ระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ

  3. การดำเนินงานภายใต้ระบบต้นทุนมาตรฐานการดำเนินงานภายใต้ระบบต้นทุนมาตรฐาน

  4. ทำให้กระบวนการทำงานของบริษัทมีระบบและสะดวกต่อการปฏิบัติงานของหลายฝ่าย โดยใช้การคาดการณ์ในการกำหนดต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการไว้ล่วงหน้าเพื่อความสะดวกในการดำเนินงานและการตัดสินใจทางการธุรกิจ การกำหนดต้นทุนมาตรฐานต้องมีการวิเคราะห์ปริมาณและราคามาตรฐานของปัจจัยการผลิตด้วย เพื่อจัดทำเป็นบัตรต้นทุนมาตรฐานของสินค้า หากบริษัทมีรายการสินค้ามากกว่าหนึ่งรายการต้องจัดทำบัตรต้นทุนมาตรฐานทุกรายการของสินค้าที่มีอยู่

  5. บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112 วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท 30.00 ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท 20.00 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท 16.00 คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท 8.00 รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า 74.00

  6. ผลการดำเนินงาน ที่เป็นไปตามระบบ ต้นทุนมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน ตามระบบ ต้นทุนจริง ผลต่าง การเปรียบเทียบระหว่าง ต้นทุนมาตรฐานและ การปฏิบัติงานจริง

  7. เมื่อสิ้นงวดจะนำเอาข้อมูลในสองส่วน คือ ต้นทุนจากการดำเนินจริงและต้นทุนมาตรฐาน มาเปรียบเทียบกันเพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานระหว่างงวดว่าเป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ โดยผลต่างที่วัดได้จะเป็นข้อมูลเริ่มแรกที่แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีจุดบกพร่องในด้านใดบ้าง และเป็นข้อมูลที่ดีสำหรับผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

  8. แสดงขั้นตอนของกระบวนการเกิดผลต่างที่เกิดขึ้นที่มาใช้วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัทแสดงขั้นตอนของกระบวนการเกิดผลต่างที่เกิดขึ้นที่มาใช้วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัท Variance Analysis Cycle Takecorrective actions. Identifyquestions. Receive explanations. Conduct next period’s operations. Analyze variances. Prepare standard cost performance report. Begin

  9. แหล่งข้อมูลเพื่อกำหนดต้นทุนมาตรฐานแหล่งข้อมูลเพื่อกำหนดต้นทุนมาตรฐาน • การวิเคราะห์กิจกรรม เพื่อทราบชนิดของกิจกรรมที่ใช้ในการผลิตแต่ละชนิด • ข้อมูลสถิติในอดีต นำข้อมูลต้นทุนของงวดที่ผ่านมาใช้วิเคราะห์ • มาตรฐานเทียบเคียงจากบริษัทอื่น มักใช้เทียบเคียงกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน • แนวคิดต้นทุนตามเป้าหมาย ใช้ความต้องการของตลาดเป็นตัววัด

  10. Target Costing Design a product, and the manufacturing process, so that the product can be manufactured at a cost that will enable the firm to make a profit when the product is sold at an estimated market-driven price. Target Price Target Cost Target Profit

  11. Target Implement Standard Costs System Market Research -Grouping Needs -Select Niche -Determine Target Cost -Develop Products -Target Market Test - Standard Costs - Launch New Products

  12. Target Price Target Cost Target Profit การนำเอาระบบ ต้นทุนมาตรฐาน ปรับใช้จริงในการควบคุม การวิจัยทางการตลาด -การจัดกลุ่มความต้องการ -การเลือกตลาดเฉพาะส่วน -การกำหนดต้นทุนเป้าหมาย -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ -การทดสอบตลาด -การกำหนดต้นทุนมาตรฐาน -การนำสินค้าออกสู่ตลาด

  13. ชนิดของต้นทุนมาตรฐาน

  14. บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112 วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท 30.00 ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท 20.00 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท 16.00 คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท 8.00 รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า 74.00

  15. บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112 วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท 30.00 ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท 20.00 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท 16.00 คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท 8.00 รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า 74.00 มาตรฐาน ราคา มาตรฐาน ปริมาณ

  16. มาตรฐานคุณภาพ มาตรฐานปริมาณ มาตรฐานราคา

  17. การกำหนดต้นทุนมาตรฐานปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดการกำหนดต้นทุนมาตรฐานปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด

  18. การกำหนดมาตรฐานปริมาณวัตถุดิบ อาจจะมาจาก • ส่วนงานวิจัยและพัฒนา • วิธีทางวิศวกรรมอุตสาหการ • จากข้อมูลสถิติและประสบการณ์ผู้ • เชี่ยวชาญ

  19. การกำหนดมาตรฐานเวลาปฏิบัติงานการกำหนดมาตรฐานเวลาปฏิบัติงาน • การศึกษาเวลากับการเคลื่อนไหวในการทำงาน • วิธีการทดสอบ • การสังเกตการณ์ • การสุ่มตัวอย่างในการทำงาน

  20. การกำหนดอัตราค่าแรง อัตราค่าแรงงานมาตรฐาน = งบประมาณ เงินเดือนค่าแรง+ค่าล่วงเวลา+สวัสดิการ+ ผลตอบแทน งบประมาณชั่วโมงแรงงานทางตรง(ทั้งเวลาปกติและล่วงเวลา) = 3,600,000+500,000+180,000+720,000 500,000 = 10 บาท/ชั่วโมงทางตรง

  21. การกำหนดมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายการผลิต • พิจารณาระดับค่าใช้จ่ายการผลิต ตามระดับการผลิตที่กำหนดไว้ • เลือกตัวผลักดันต้นทุน • - คำนวณออกมาเป็นต้นทุนมาตรฐานต่อหน่วย

  22. การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร • กำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต • กำหนดรูปแบบพฤติกรรมตัวผลักดันต้นทุนชนิดต่างๆ • เลือกตัวผลักดันต้นทุนเพื่อเป็นตัวแทน ของทั้งหมด • คำนวณอัตรา • 5. นำไปใช้

  23. การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ • กำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต • พิจารณาค่าใช้จ่ายการผลิตต่อระดับกำลังการผลิตที่แตกต่างกัน • เลือกตัวผลักดันต้นทุนเพื่อเป็นตัวแทน ของทั้งหมด • คำนวณอัตรา • 5. นำไปใช้

  24. บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112 วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท 30.00 ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท 20.00 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท 16.00 คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท 8.00 อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่ คงที่คิดเข้างาน ประมาณปริมาณตัวผลักดันต้นทุน = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่ ประมาณชั่วโมงแรงงานทางตรง = 240,0000= 4 บาท/ชั่วโมงแรงงานทางตรง 60,000 รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า 74.00

  25. ข้อดีและข้อเสียของระบบต้นทุนมาตรฐานข้อดีและข้อเสียของระบบต้นทุนมาตรฐาน ระบบต้นทุนมาตรฐานตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นแสดงให้เห็นว่ามีประโยชน์อย่างมากแต่อย่างไรก็ตามระบบนี้ก็มีข้อด้อยเหมือนซึ่งจะสรุปดังต่อไปนี้ ข้อดี 1.ใช้เป็นข้อมูลเพื่อมอบหมายความรับผิดชอบและใช้ในการประเมินผลการปฺฏิบัติงาน 2.พนักงานผลิตสามารถใช้เป็นข้อมูลหลักในการปฏิบัติงาน 3.ระดับมาตรฐานที่ตั้งไว้สร้างความท้าทายแก่พนักงานที่จะทำงานให้ได้ตามมาตรฐานที่ ตั้งไว้ หรือดีกว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ 4.ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการควบคุมและส่งเสริมการลดต้นทุน 5.ใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมสินค้าคงคลัง สามารถตีราคาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จได้เลยโดยไม่ต้องรอทราบต้นทุนจริงทั้งหมดเมื่อปลายงวด 6.ในการคำนวณต้นทุนมาตรฐานได้ตัดเอาต้นทุนในส่วนความไร้ประสิทธิภาพในการผลิตออกทำให้ผู้บริโภคไม่รับภาระความไร้ประสิทธิภาพ 7.ใช้เป็นข้อมูลเพื่อการตัดสินใจกำหนดราคาในการประมูลงานหรือติดต่อเจรจาธุรกิจกับลูกค้าเป็นไปโดยสะดวกและรวดเร็ว

  26. 8.การกำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์จะทำให้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า8.การกำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์จะทำให้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า 9.สามารถวางแผนและควบคุมเวลาสำหรับการผลิตการจัดการระบบสินค้าคงคลังและการจัดการทางด้านการเงิน 10.ลดต้นทุนและเวลาในการฝึกอบรม 11.สามารถใช้ในการกำหนดเป็นมาตรฐานในการผลิตและสามารถทำให้เกิดการผลิตโดยอัตโนมัติ ข้อเสีย 1.ต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนส่วนที่ไม่สามารถกำหนดเป็นมาตรฐานได้มากนักขึ้นอยู่กับกำลังการผลิต 2.อาจทำให้ผลิตภัณฑ์ขาดความหลากหลายหากยึดติดกับความเป็นมาตรฐานมากเกินไป 3.ต้องใช้ต้นทุนสูงในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงแบบการผลิตจากมาตรฐานหนึ่งไปเป็นอีกมาตรฐานหนึ่ง 4.ทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภคได้

  27. การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐานการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน

  28. Material Price Variance = ( AQ X AP) – (AQ X SP) = AQ X (AP-SP)

  29. Material Quantities Variance = ( AQ X SP) – (SQ X SP) = SP X (AQ-SQ)

  30. Labour Rate Variance = ( AH X AR) – (AH X SR) = AH X (AR-SR)

  31. Labour Efficiency Variance = ( AH X SR) – (SH X SR) = SR X (AH-SH)

  32. Spending Variance = ( A cost diver activities X AR) – (A cost diver activities X SR) = A cost diver activities X (AR-SR) Example = ( AH X AR) – (AH X SR) = AH X (AR-SR) = ( AMH X AR) – (AMH X SR) = AMH X (AR-SR)

  33. Efficiency Variance = ( Actual cost diver activities X SR) – (Standard cost diver activities X SR) = SR x (Actual cost diver activities – Standard cost diver activities) Example = ( AH X SR) – (SH X SR) = SR X (AH-SH) = ( AMH X SR) – (SMH X SR) = SR X (AMH-SMH)

  34. การใช้ต้นทุนมาตรฐานสำหรับบริษัทผลิตสินค้าทั่วไปการใช้ต้นทุนมาตรฐานสำหรับบริษัทผลิตสินค้าทั่วไป

  35. บริษัท ซิลเวอร์แวร์ จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องเงินชนิดต่างๆ ต่อไปนี้เป็นบัตรต้นทุนมาตรฐานและข้อมูลการผลิตชุดช้อนเงิน

More Related