510 likes | 1.08k Views
โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ. www.cgd.go.th. ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือน. ส่วนที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ. หัวข้อ. www.cgd.go.th. ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ. ความเป็นมา. วัตถุประสงค์. ประโยชน์ที่จะได้รับ.
E N D
โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ www.cgd.go.th
ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือน ส่วนที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ หัวข้อ www.cgd.go.th
ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่จะได้รับ แนวทางการดำเนินงาน โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ www.cgd.go.th
ความเป็นมา กรมบัญชีกลางทำการขอเบิกเงินเดือน / ค่าจ้างประจำ ในระบบ GFMISและดำเนินการโอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ธนาคารพาณิชย์ของผู้มีสิทธิโดยตรงตามข้อมูลที่ส่วนราชการจัดทำ
ระบบจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลางระบบจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง
วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบการเบิกจ่ายโดยนำเทคโนโลยี มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 1 2 เชื่อมโยงระบบต่างๆ 3 ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 4 ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 5
ประโยชน์ที่จะได้รับ ลดขั้นตอนการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำเอกสารขอเบิก และการโอนเงิน ส่วนราชการ สามารถทำงาน ในส่วนที่เป็นภารกิจหลักได้เต็มที่ มีฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร
ประโยชน์ที่จะได้รับ มีระบบฐานข้อมูล บุคลากรภาครัฐเต็มรูปแบบ กรมบัญชีกลาง ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประหยัดต้นทุนในการดำเนินการเบิกจ่าย
ประโยชน์ที่จะได้รับ การบริหารเงินสด และเงินคงคลังของประเทศ ด้านมหภาค มีฐานข้อมูลในการบริหารบุคลากร และงบประมาณทั้งระบบ
ค่าใช้จ่ายและเงินต่าง ๆ ตามโครงการจ่ายตรงฯ
ค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรงค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรง 1 3 2 งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบกลาง - เงินสมทบ ชดเชย กบข./กสจ. • - เงินตอบแทนพิเศษ • - เงินค่าเช่าบ้าน • (กรณีส่วนราชการมีความ • ประสงค์ขอเบิก) • เงินค่าตอบแทนรถ • ประจำ ตำแหน่ง • (กรณีส่วนราชการมีความ • ประสงค์ขอเบิก) • - เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ • - เงินประจำตำแหน่ง • - เงินวิทยฐานะ • - เงินเพิ่มพิเศษซึ่งจ่ายควบ • เงินเดือน/ค่าจ้างประจำ • ยกเว้น เงินเพิ่มพิเศษ • สำหรับข้าราชการ • ซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่ประจำ • อยู่ในต่างประเทศ • (พ.ข.ต.) • เงินค่าตอบแทน • นอกเหนือจากเงินเดือน
ประเภท เงินที่หัก เงินที่หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ เงินที่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ เงินที่ไม่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ • หนี้ที่ต้องชำระให้แก่ • ส่วนราชการ • หนี้ที่จ่ายชำระหนี้ให้แก่ • บุคคลที่สาม • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินสะสม ( กบข/กสจ)
การเตรียมตัว จะเข้าร่วมโครงการได้อย่างไร กรมบัญชีกลาง • ได้รับการตรวจสอบฐานข้อมูล • ประจำปี • ตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากร • ภาครัฐประจำปี ส่วนราชการ 2. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (เชื่อมต่อ Internet) 2. บันทึกฐานข้อมูลบุคลากร ภาครัฐในระบบให้เป็นปัจจุบัน 3. เตรียมข้อมูล 3.1 วันเริ่มรับราชการ 3.2 วันเดือนปีเกิด 3.3 เลขประจำตัวประชาชน 3.4 เลขบัญชีธนาคาร 3.5 รายการลดหย่อน 3.6 รายการหนี้ที่ให้หัก 3.7 ที่อยู่ 3. ส่งมอบระบบการบันทึกข้อมูล
ส่วนราชการ ประมวลผลการเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ บันทึกการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ เช่น บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน โยกย้าย พ้นจากราชการ ฯลฯ บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ 2 2 3 การดำเนินงาน ในแต่ละเดือน ออกรายงานและตรวจสอบข้อมูลการเบิกเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ 1 4 5 6 ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือนให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน กรณีมีการแก้ไข ต้องส่งให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 17 ของเดือน
กรมบัญชีกลาง เบิกเงินต่าง ๆ ที่ส่วนราชการ ขอเบิก ในระบบ GFMIS ตรวจสอบและอนุมัติ ดำเนินการโอนย้ายข้อมูลการขอเบิกเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ ตามที่ส่วนราชการแจ้ง 2 2 3 ดำเนินการโอนเงิน 4.1 กบข./กสจ. - เข้าบัญชีกบข./กสจ. 4.2 ภาษี - เข้าบัญชีรายได้แผ่นดิน (กรมสรรพากร) 4.3 หนี้ - เข้าบัญชีส่วนราชการ 4.4 เงินเดือน/ค่าจ้างสุทธิ - เข้าบัญชีผู้มีสิทธิ 1 การดำเนินงาน ในแต่ละเดือน 4
วันรับเงินเดือน/ค่าจ้างประจำวันรับเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ 3 วัน ก่อนวันทำการสุดท้าย ของเดือน
1 2 หนี้บุคคลที่สาม หนี้ทางราชการให้นำส่งคลังในระบบ GFMIS ส่วนราชการจะดำเนินการอย่างไรเมื่อได้รับรายการหนี้ 1.1 ชำระเจ้าหนี้ 1.2 ส่งให้หน่วยงานในสังกัดเพื่อนำไปชำระหนี้
การให้บริการของระบบ 4 3 2 1 การจัดทำข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่ายส่งกรม สรรพากร หนังสือรับรองการจ่ายเงิน (Slip) หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย การจัดส่งเงินและข้อมูลให้ กบข/กสจ
โครงการจ่ายตรงเงินเดือน/ค่าจ้างประจำโครงการจ่ายตรงเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ผู้รับ เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ หนี้ สหกรณ์ เจ้าหนี้ ส่วนราชการ (ภูมิภาค) ภาษี ส่วนราชการ (ส่วนกลาง) กรมบัญชีกลาง สหกรณ์ เจ้าหนี้ กบข. กสจ. • ข้อมูล • เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ • รายการหนี้ • กบข/กสจ • ภาษี • วันที่ 12 ของเดือน
ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง เดือนแรกของการเริ่มโครงการฯ เดือนต่อๆไป ระบบฐานข้อมูล บุคลากร ของกรมบัญชีกลาง การเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ในเดือนต่อๆไป ให้ดำเนินการ เช่นเดียวกับการดำเนินงาน เช่นเดียวกับข้อ 2-4 ในเดือนแรก กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล ไม่ถูกต้อง 1. บันทึกข้อมูลของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ - เลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร - เลขประจำตัวประชาชน - การลดหย่อนภาษี - ที่อยู่ สำหรับการออกหนังสือรับรองภาษี 2. บันทึกการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบและไม่มีผลกระทบ เช่น คำสั่งบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ/ชั้นยศ ลดขั้น ไล่ออก ลาออก 3. บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ 4. ประมวลผลเพื่อออกรายงาน พร้อมทั้งตรวจสอบและ ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือน ให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน ซึ่งประกอบด้วย - หนังสือนำส่งรายละเอียดขอเบิกจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ประจำเดือน………… - รายละเอียดการแจ้งรายการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ และเงินอื่นๆ ประจำเดือน ……………...พ.ศ…… กรณีมีการเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินฝากธนาคาร ของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ให้ส่วนราชการบันทึกการเปลี่ยนแปลง ในระบบการจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง และตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมแจ้งกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 17 ของเดือน ที่มีการบันทึกการเปลี่ยนแปลง แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของส่วนราชการ
กรมบัญชีกลาง ธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ ธนาคารพาณิชย์ ส่วนราชการ กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ ส่งข้อมูล การโอนเงิน ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบ เงินเดือน/ค่าจ้างประจำสุทธิ ถูกต้อง อนุมัติ กบข./ กสจ. สั่งจ่าย ภาษี หนี้บุคคลที่ 3 แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง กบข.กสจ. กรมสรรพากร ส่วนราชการ
ตารางแสดงอัตราค่าธรรมเนียมตารางแสดงอัตราค่าธรรมเนียม การโอนเงินโครงการจ่ายตรงฯ ของกรมบัญชีกลาง
* * ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท ใช้ประมาณเดือนกรกฎาคม 2549 การโอนเงินระบบ In-House * ยกเว้นเฉพาะการโอนในครั้งแรกของเดือน หากมีการโอนในครั้งต่อไปภายในเดือนนั้นๆ คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท
การโอนเงินระบบ SMART • ไม่เกิน 100,000 บาท • = 7.40 • ตั้งแต่ 100,001 ขึ้นไป • แต่ไม่เกิน 500,000 บาท • =25.40 • ตั้งแต่ 500,001 ขึ้นไป • แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท • = 64.40 # อัตราค่าธรรมเนียมการโอนเงินดังกล่าวใช้ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 2549 เป็นต้นไป หากมีการเปลี่ยนแปลงจะแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป
ข้อสังเกต/ปัญหาที่พบบ่อยข้อสังเกต/ปัญหาที่พบบ่อย
ข้อสังเกตของบัญชีเงินฝากธนาคารข้อสังเกตของบัญชีเงินฝากธนาคาร 4 3 2 1 ไม่จำกัด ธนาคาร / สาขา / จังหวัด ห้ามใช้ประเภทเงินฝากประจำ ใช้เฉพาะออมทรัพย์/สะสมทรัพย์/ กระแสรายวัน ห้ามปิดบัญชีช่วงที่จะโอนเงินเข้าบัญชี
การป้องกันปัญหาเงินไม่เข้าบัญชีการป้องกันปัญหาเงินไม่เข้าบัญชี 4 3 2 1 ตรวจสอบเลขที่บัญชีให้ถูกต้องก่อนนำข้อมูลเข้าระบบ ใช้ บริการสม่ำเสมอเพื่อให้บัญชีเคลื่อนไหว ห้ามปิดบัญชีช่วงโอนเงิน ไม่มี การอายัดบัญชี
1 2 ข้อมูลการหักลดหย่อนภาษี กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เช่น การหักลดหย่อนบุตร ดอกเบี้ยธนาคาร เงินบริจาค เป็นต้น การแก้ไขข้อมูลการหักลดหย่อนภาษีให้แจ้ง ส่วนราชการต้นสังกัด
ระบบการทำงาน ใช้ระบบ Web Application ทั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ ระบบจ่ายตรงในปัจจุบัน การเข้าสู่ระบบ การทำงาน วิธีการทำงาน ส่วนราชการทำงานผ่านระบบ Internet ใช้ Token key
ระบบงานตามโครงการจ่ายตรงเงินเดือนระบบงานตามโครงการจ่ายตรงเงินเดือน และค่าจ้างประจำ ระบบข้อมูลพื้นฐานทั่วไป 1 2 ระบบทะเบียนประวัติ 3 ระบบบัญชีถือจ่าย ระบบการจ่ายเงินเดือน 4 ระบบจัดเตรียมเงินสวัสดิการและหนี้สิน 5
ส่วนที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ
ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐณ วันที่ 1 ตุลาคม
STEP 1 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 มีนาคม
STEP 2 ออกรายงาน PREGOTA ณ วันที่ 1 มีนาคม และจัดส่งกรมบัญชีกลาง จำนวน 1 ชุด
STEP 3 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม
STEP 4 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน
STEP 5 ออกรายงาน PREALLOW ณ วันที่ 1 เมษายน และจัดส่งกรมบัญชีกลางจำนวน 1 ชุด
STEP 6 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 กันยายน
STEP 7 ออกรายงาน PREGOTA ณ วันที่ 1 กันยายน และจัดส่งกรมบัญชีกลาง จำนวน 1 ชุด
STEP 8 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 30 กันยายน
STEP 9 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 ตุลาคม
STEP 10 ออกรายงาน PREALLOW ณ วันที่ 1 ตุลาคม และจัดส่งกรมบัญชีกลางจำนวน 1 ชุด
การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐในรอบ 1 ปี บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 มีนาคม ออกรายงานโควตา ณ วันที่ 1 มีนาคม และจัดส่งกรมบก. 1 ชุด ออกรายงานการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 ตุลาคม เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 1 2 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารทีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 9 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 3 8 4 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 5 10 7 ออกรายงานการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 6 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 กันยายน ออกรายงานโควตา ณ วันที่ 1 กันยายน และจัดส่งกรมบก. 1 ชุด
สอบถาม www.cgd.go.th
ขอบคุณค่ะ รพีพร แสนวงษา โทร. 02-127-7364 ปานทิพย์ วิทยประพัฒน์ โทร. 02-127-7350 www.cgd.go.th สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ