1 / 31

สวรรยา จันทูตานนท์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การพยากรณ์การเกิดโรคไข้เลือดออก พ.ศ.2555 โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง. สวรรยา จันทูตานนท์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา. ความเป็นมาและความสำคัญ. โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่สำคัญ และเป็นโรคนโยบายระดับประเทศ

Download Presentation

สวรรยา จันทูตานนท์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยากรณ์การเกิดโรคไข้เลือดออก พ.ศ.2555 โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง สวรรยา จันทูตานนท์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

  2. ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่สำคัญ และเป็นโรคนโยบายระดับประเทศ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในภาคใต้ตอนล่าง มีรายงานโรคตลอดทั้งปี แนวโน้มการเกิดโรคไม่ลดลง การพยากรณ์โรค เป็นการรวบรวมข้อมูลโรคและข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มาสังเคราะห์และทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเตรียมรับสถานการณ์ที่อาจเปลี่ยนแปลงได้

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์โรคไข้เลือดออก และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ พ.ศ.2545-2554 เพื่อศึกษาแนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง พ.ศ.2555 โดยใช้แบบจำลองนุกรมเวลาในการวิเคราะห์ค่าการพยากรณ์

  4. เครื่องมือ • ข้อมูลโรคไข้เลือดออกจากฐานข้อมูลเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา พ.ศ.2544-2554 • ข้อมูลประชากรกลางปี ประเทศไทย จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2544 – 2554 • โปรมแกรมสำเร็จรูป EViews version 4.1

  5. วิธีการศึกษา

  6. ผลการศึกษา สถานการณ์ทางระบาดวิทยาโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546-2554

  7. ค่าดัชนีในการวัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง (HI, CI, BI) รายจังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง • พ.ศ.2554 ทุกจังหวัดมีค่า HI > 10 จาการสำรวจในเดือนมีนาคม • พ.ศ.2554 พบ ภาชนะที่มีลูกน้ำ โดยค่า CI<10 • ค่า BI < 50 ทุกจังหวัด มีค่าอยู่ระหว่าง 5.3-37.7

  8. เปรียบเทียบอัตราป่วยกับปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายเดือน ภาคใต้ตอนล่าง พ.ศ.2550-2554 แหล่งข้อมูล : กรมอุตุนิยมวิทยา

  9. ผลการศึกษา การพยากรณ์โรคไข้เลือดออกรายเดือน พ.ศ.2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง

  10. กราฟแสดงลักษณะของข้อมูลที่มีอิทธิพลของแนวโน้ม ฤดูกาล และ วัฎจักร

  11. รูปแบบจำลองสมการ • Ŷt+k= (a + bk) c t+k ………………..Holt-Winters Multiplicative Seasonal Model • Ŷt+k= a + bk + c t+k …..………… Holt-Winters Additive Seasonal Model เมื่อ Ŷt+k คือ ค่าพยากรณ์ ณ เวลาที่ t+k aคือ จุดตัดแกน bคือ ค่าความชันของแนวโน้ม c t+k คือ ดัชนีฤดูกาลที่ t+k

  12. ค่าสถิติทดสอบโดยใช้แบบจำลองการปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชียล (Exponential smoothing)

  13. Yt = [4.16 – 0.09(t)]

  14. Yt = [6.97 – 0.18(t)]

  15. Yt = [10.07 – 0.009(t)]

  16. Yt = [0.97 – 0.22(t)]

  17. Yt = [3.76 – 0.36(t)]

  18. Yt = [0.89 – 0.37(t)]

  19. Yt = [0.67 – 0.24(t)]

  20. อภิปรายและสรุปผลการศึกษาอภิปรายและสรุปผลการศึกษา • วัฏจักรของการเกิดโรคในภาคใต้ตอนล่าง ระบาด 1 ปี เว้น 2 ปี ครั้งล่าสุด ระบาดในปี 2553 จากค่าการพยากรณ์ ปี 2555 ในภาพรวมภาคใต้ตอนล่างอัตราป่วยไม่เกินค่า Median ไม่น่าจะมีการระบาด ถ้าเหตุการณ์ไม่ผิดปกติไปจากเดิม • ผลการพยากรณ์ปี พ.ศ.2555 จาก Model ที่ใช้ในจังหวัดปัตตานี สตูล พัทลุง และนราธิวาส พบใกล้เคียงกับอัตราป่วยจากรายงาน 506 น่าจะสามารถพิจารณานำไปใช้วางแผนการป้องกันควบคุมโรคได้

  21. อภิปรายและสรุปผลการศึกษา(ต่อ)อภิปรายและสรุปผลการศึกษา(ต่อ) • ผลการพยากรณ์ปี พ.ศ.2555 ในจังหวัดตรัง ยะลา และสงขลา นั้นมีค่าแตกต่างกับกับข้อมูลจริง ดังนั้นอาจเลือกใช้วิธีการพยากรณ์ อื่นๆมาเปรียบเทียบเพิ่มเติม • Time series analysis เป็นการใช้รูปแบบการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรนั้นที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาในอดีตมาทำนายอนาคต ค่าพยากรณ์ที่ได้จึงขึ้นอยู่กับการรายงานจำนวนผู้ป่วยในอดีตส่วนหนึ่ง • จะเห็นว่าค่าพยากรณ์จะใกล้เคียงกับค่าจริงที่ประมาณ 3-4 เดือน หลังจากนั้นจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการพยากรณ์โดยใช้รูปแบบจำลองที่เลือกมาจึงเหมาะในการพยากรณ์ระยะสั้นมากกว่าระยะยาว

  22. ข้อเสนอแนะ • ค่าการพยากรณ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ควรนำมาพิจารณาใช้ประโยชน์ร่วมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยา ในการวางแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ • การเลือกวิธีการพยากรณ์ให้พิจารณาจากความสอดคล้องของผลการพยากรณ์กับสถานการณ์โรคจริง จึงควรทดลองใช้ Model ต่างๆ มาเปรียบเทียบกัน เช่น Time Trend, Exponential smoothing , ARIMA และVARs • การใช้ประโยชน์ของข้อมูลต้องคำนึงถึงปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ เช่นนโยบายการรายงานผู้ป่วย ชนิดของเชื้อ ปริมาณน้ำฝน

  23. ข้อเสนอแนะ(ต่อ) • หมั่นควรตรวจสอบความถูกต้องแม่นยำเป็นระยะ เพื่อปรับวิธีการ ค่าคงที่ หรือสมการที่ใช้ในการคำนวณให้เหมาะสมเมื่อเวลาเปลี่ยนไป ทั้งนี้ผู้ศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพยากรณ์ • การพยากรณ์เป็นการทำนายค่าในอนาคต เป็นค่าที่ไม่แน่นอน ย่อมเกิดความคลาดเคลื่อน ความผิดพลาดขึ้นได้ การกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง ก่อนถึงฤดูกาลการเกิดโรค ก็ยังเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติ

  24. สวัสดีค่ะ

More Related