1 / 10

บทที่ 6

บทที่ 6. การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์. การปรับค่าตัวแปร. การปรับค่าให้กับตัวแปรใหม่. อายุ  1. ต่ำกว่า 16 ปี  2. 16-20 ปี  3. 21-25 ปี  4. ตั้งแต่ 26 ปี. อายุ............... ปี. คำสั่งที่ใช้ Transform  Recode  into difference variables.

ronna
Download Presentation

บทที่ 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์ BC428:Research in Business Computer

  2. การปรับค่าตัวแปร • การปรับค่าให้กับตัวแปรใหม่ อายุ  1. ต่ำกว่า 16 ปี  2. 16-20 ปี  3. 21-25 ปี  4. ตั้งแต่ 26 ปี อายุ............... ปี คำสั่งที่ใช้ Transform  Recode  into difference variables สามารถ download data ผ่านทางเว็บไซต์อาจารย์บุษรา BC428:Research in Business Computer

  3. การปรับค่าให้กับตัวแปรเดิมการปรับค่าให้กับตัวแปรเดิม 1 2 3 4 5 Negative Question คำสั่งที่ใช้ Transform  Recode  into same variables BC428:Research in Business Computer

  4. การสร้างตัวแปรใหม่จากสูตรการสร้างตัวแปรใหม่จากสูตร เช่น ต้องการสร้างตัวแปร Attitude สำหรับ เก็บค่าเฉลี่ยของคำถาม 3 ข้อ คำสั่งที่ใช้ Transform  Compute BC428:Research in Business Computer

  5. การแก้ไข ข้อมูลต่าง ๆ ลองใช้เอง(ไม่ยาก) BC428:Research in Business Computer

  6. การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของคำถามการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของคำถาม • โดยการตรวจสอบความเชื่อถือได้(Reliability) ของเครื่องมือ โดยใช้วิธีทางสถิติในการวัดค่า • โดยใช้วิธีการวัดความสอดคล้องกัน ภายในชุดของข้อคำถาม โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอน บาค (Cronbach’s Alpha) BC428:Research in Business Computer

  7. Cronbach’s Alpha • ใช้วัดความเชื่อมั่น(Reliability) ของแบบสอบถาม • ค่าสัมประสิทธิ์อยู่ในช่วง 0 ถึง 1 • ค่าสัมประสิทธิ์ที่ดีควรวัดได้มากกว่า 0.6 • ในกรณีที่ข้อคำถามน้อย และค่าวัดได้มีค่าต่ำกว่า 0.6 ควรใช้วิธีการเก็บแบบสอบถามเพิ่ม • ในกรณีที่ข้อคำถามมีจำนวนมาก และค่าที่วัดได้มีค่าต่ำกว่า 0.6 อาจจะตัดคำถามบางข้อที่ส่งผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิ์ทิ้ง • เหมาะกับข้อคำถามที่ใช้ถามความคิดเห็น ทัศนคติ การจัดลำดับ หรือแบบทดสอบประเมินค่า เป็นต้น • จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นกลุ่มทดลอง ประมาณ 30 คน BC428:Research in Business Computer

  8. การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของคำถาม (จากไฟล์ Pretest.sav) คำสั่งที่ใช้ Analyze  Scale  Reliability Analysis... BC428:Research in Business Computer

  9. ผลลัพธ์ 1 2 3 4 BC428:Research in Business Computer

  10. ตัวอย่างการเขียนผลการวิเคราะห์ กรณีที่มีกลุ่มคำถามหลายหมวด จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างทดลองทั้งหมด 30 ชุด ผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในเรื่องต่าง ๆ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้ผลการวิเคราะห์ดังตาราง ตาราง แสดงค่าความเชื่อมั่นของคำถามในหมวดต่าง ๆ BC428:Research in Business Computer

More Related