1 / 24

การทบทวนงานวิจัย

การทบทวนงานวิจัย. Comparison Of Two Methods Of Leprosy Case Finding In The Circle Of Kita in Mali A. Tiendrebeogo, s. O. Sow, M. Traore, Sissoko, and B. Coulibaly International Journal Of Leprosy Volume 76, Number 3. น.

romney
Download Presentation

การทบทวนงานวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทบทวนงานวิจัย Comparison Of Two Methods Of Leprosy Case Finding In The Circle Of Kita in Mali A. Tiendrebeogo, s. O. Sow, M. Traore, Sissoko, and B. Coulibaly International Journal Of Leprosy Volume 76, Number 3

  2. OCCGE เป็นกลุ่ม 8 ประเทศที่พูดภาษาฝรั่งเศส เป็นองค์ที่ร่วมมือกัน เพื่อควบคุมโรคระบาดในพื้นที่ 1 ใน 8 คือประเทศMali NLCP แผนงานควบคุมโรคเรื้อน ของประเทศ Mali เริ่มในปี1992 - 1996 ลดความชุกโรคจาก 18.4 เหลือ 3.75/10,000 ประชากรฯ Detection rateยังคงอยู่ในช่วง 1.37- 2.11 / 10,000 ประชากร ใช้วิธี passive case finding Benin and Burkina Faso detection rateเพิ่ม 3 – 4 เท่า หลังทำ active case finding. ที่มาของปัญหา

  3. วัตถุประสงค์ • ต้องการเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย และประสิทธิผลของวิธี การค้นหาเชิงรุก กับการค้นหาเชิงรับ • นำเสนอแนวทางการกำจัดโรคเรื้อนแก่กลุ่มประเทศ OCCGE

  4. Materials And Methods • การศึกษาแบบเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม และสถิติที่ใช้ ทดสอบสมมุติฐานการวิจัย คำนวณกลุ่มตัวอย่างประชากรแต่ละกลุ่ม ประมาณ 6,500 คน • ผู้วิจัยเลือก Circle of Kita, Mali ซึ่งมี ประชากร 274,000 คน • จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด 1,000 หมู่บ้าน ถูกสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม - active สุ่มได้ 32 หมู่บ้าน 69,518 คน - passive สุ่มได้ 37 หมู่บ้าน 80,315 คน

  5. 1.ให้ความรู้เรื่องอาการโรคเรื้อน ในหมู่บ้านที่ศึกษา โดยเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ที่อยู่ใกล้หมู่บ้าน 2.ให้คำปรึกษา แก่ผู้มีอาการสงสัยโรคเรื้อน และส่งต่อผู้สงสัยมายัง สถานีอนามัย 3.ตรวจร่างกายผู้สงสัยโดยพยาบาลที่ ระดับ สถานีอนามัย ( peripheral level of health system ) 4.ยืนยันเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อน ให้การวินิจฉัยโรคเรื้อน โดยพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ ที่ระดับ อำเภอ/ รพช ระยะเวลา เดือน พค. 2540 สิ้นสุดการเก็บข้อมูล สิ้น พค.2541 Passive case finding

  6. 1. มีการให้สุขศึกษา เกี่ยวกับอาการเกี่ยวกับอาการของโรคเรื้อน โดยทีม ในหมู่บ้านที่ออก active case finding ซึ่งทีม ประกอบด้วย แพทย์ 1 พยาบาล 2 คน 2. พยาบาล ตรวจ ร่างกายผู้มีอาการสงสัยโรคเรื้อน ทันทีหลังจากทำกลุ่มให้สุขศึกษา 3. ให้การยืนยันการวินิจฉัยโรคเรื้อน โดยแพทย์ในทีมเคลื่อนที่ ระยะเวลาดำเนินงาน พค- มิย 2540 Active case finding

  7. ผลการศึกษา

  8. อภิปรายผล วิธี active case finding • มีประสิทธิภาพมากกว่า • Detection เร็วกว่า & ป้องกันความพิการมากกว่า • ค่าใช้จ่ายมากกว่า • ข้อเสนอแนะ • ใช้ในพื้นที่ไกล ๆ หมู่บ้านไกล ๆ • ทำซ้ำ 2-3 ปีครั้ง

  9. อภิปรายผล วิธี passive case finding : • เป็นวิธีการทีดี ในระบบทีมีการโอนมอบงานแล้ว • บูรณาการเข้ากับระบบอื่น ๆ ของการบริการสาธารณสุข • ประหยัดมากกว่า • ข้อเสนอแนะ • Regular information campaigns ทำการรณรงค์ให้ความรู้สม่ำเสมอ • ต้องจัดอบรมพยาบาลสม่ำเสมอ( ผู้รับผิดชอบใหม่ หรือ อบรมฟื้นฟู) • ต้องนิเทศ ในระดับอำเภอสม่ำเสมอ

  10. อภิปรายผล • When considering the cost of information campaigns ,training , re training and supervision activity ,the low cost of passive case finding could reach the cost of active case finding ( เมื่อคิดถึง ค่าใช้จ่ายในส่วนของการรณรงค์ การอบรม การอบรมฟื้นฟู การติดตามนิเทศงานแล้ว ค่าใช้จ่ายการค้นหาแบบ passive ก็จะพอ กับ active)

  11. Comparison Of Results

  12. Comparison Of Results

  13. Comparison Of Results

  14. Conclusion The active case finding method: • More efficient • Allowing earlier detection & prevention of disabilities • More expensive Offset by: • Use in remote areas only • Done only once in 2 – 3 years

  15. Conclusion The passive case finding method: • Better strategy for health services integration • Can be combined with other components of primary health care • Economical Offset by: • Regular information campaigns • Necessity for regular training of nurses • Necessity for permanent supervision at district level

More Related