1 / 20

เจ้า

พระ. บิดา. พระ. เจ้า. นางสาว สุมาลิน แจ่มใส 5300027 ซิสเตอร์ เกศินี มังกร 5300028 ซิสเตอร์ วนิดา เดโชชัยไกวัล 5300029 ซิสเตอร์ สุภาพร จันทร์ปาน 5300030 นาย ณัฐนิิธิ เลาหาง 5330273 นาย คมสันต์ หมูนคำ 5330287

Download Presentation

เจ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระ บิดา พระ เจ้า

  2. นางสาว สุมาลิน แจ่มใส 5300027 ซิสเตอร์ เกศินี มังกร 5300028 ซิสเตอร์ วนิดา เดโชชัยไกวัล 5300029 ซิสเตอร์ สุภาพร จันทร์ปาน 5300030 นาย ณัฐนิิธิ เลาหาง 5330273 นาย คมสันต์ หมูนคำ 5330287 นาย ธนากร อภิวัฒนานุกูล 5330290 นาย ธนากร จันทร์เขียว 5330291 นาย นิสิต สิมสิงห์ 5330292 นาย พลากร เพียรพันธ์ 5330293 สมาชิกกลุ่ม

  3. คำว่าพระบิดา เราสามารถแยกออกได้ 2 คำ คือ “พระ”กับ “บิดา” “พระ” คือบุคคลที่ผู้คนเคารพ, คำที่ประกอบคำหนึ่งให้บุคคลนั้นเกิดที่ยอมรับ,เป็นบุคคลที่เด่น เช่นใช้ในศาสดา มีพระพุทธเจ้า ,พระเยซูเจ้า “บิดา” หมายถึงชายผู้ที่ให้กำเนิดแก่ลูก ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า “พ่อ” ในภาษาไทยสำหรับคนแล้ว คำว่า “พระบิดา”เป็นคำราชาศัพท์ จะใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์เท่านั้น แต่คำว่า “บิดา” เป็นคำสุภาพที่ใช้ในทางราชการ เป็นภาษาเขียนมากกว่าภาษาพูด

  4. พระลักษณะของพระเจ้า พระเจ้าทรงเผยแสดงพระองค์ไปทีละขั้น และภายใต้พระนามต่างๆกันต่อประชากรของพระองค์ แต่การเผยแสดงพระนามของพระเจ้าที่ประทานแก่โมเสสในการสำแดงพระองค์ เมื่อเริ่มการอพยพ ที่ปรากฎเป็นการเผยแสดงระดับพื้นฐานสำหรับพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ เพื่อให้รู้จักพระองค์มากขึ้น ให้ดูจากพระลักษณะของพระองค์โดยแยกพิจารณาพระลักษณะของพระองค์ที่ปรากฎในพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ว่าจะมีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร

  5. 1. พระเจ้าพระผู้สร้าง “ในปฐมกาล พระได้ทรงเนรมิตสร้างฟ้าและแผ่นดิน” (ปฐม.1:1)ถ้อยคำเหล่านี้อยู่ตอนเริ่มต้นพระคัมภีร์ สัญลักษณ์แห่งความเชื่อรับเอาถ้อยคำเหล่านี้ไปใช้ในการประกาศยืนยันว่าพระ พระบิดาผู้ทรงสรรพานุภาพทรงเป็น “ผู้สร้างฟ้าและแผ่นดิน” (สัญลักษณ์ของอัครสาวก) “จักวาลอันเห็นได้และเห็นไม่ได้”

  6. 2.พระเจ้าแห่งพระคุณ ไม่มีมนุษย์คนบาปคนไหนเคยเห็นพระเจ้า(อพย. 33:20) แต่พระเจ้าทรงเปิดเผยให้เห็นพระลักษณะอุปนิสัยของพระองค์โดยการกระทำอันเต็มไปด้วยความเมตตา ถึงกระนั้นก็ตามพระเมตตานี้ไม่ใช่การยกโทษโดยไม่ตรวจสอบแต่ว่าการกระทำโดยมีหลักการและความยุติธรรมเป็นสิ่งชี้นำบรรดาผู้ปฏิเสธพระคุณนี้จะต้องได้รับการปรับโทษตามความผิดของเขา พระองค์ทรงตรัสแก่โมเสสว่า “ให้พวกเขาสร้างสถานนมัสการสำหรับเราเพื่อเราจะอยู่ท่ามกลางพวกเขา” (อพย. 25:8) เพราะนี่คือสถานที่บนโลกที่พระเจ้าทรงประทับอยู่สถานศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้กลายมาเป็นศูนย์รวมทางศาสนา

  7. 3. พระเจ้าแห่งพันธสัญญา พระเจ้าทรงมุ่งมั่นสร้างความสัมพันธ์อันยั่งยืนพระองค์ทรงทำสัญญาสำคัญอย่างโนอาร์(ปฐก. 9: 1-17) พระองค์ทรงให้หลักประกันแก่โนอาร์ว่าจะมีฤดูกาลตามปกติและจะไม่มีน้ำท่วมอีกเลยและทรงให้สัญญากับอับราฮัมว่าเขาจะมีลูกหลานนับจำนวนไม่ถ้วนและจะให้แผ่นดินพันธสัญญาแก่ลูกหลานได้พำนักอาศัย(ปฐก. 15: 18; 17:8)

  8. 4.พระเจ้าผู้ทรงไถ่ในฐานะพระเจ้าแห่งพระธรรมอพยพ4.พระเจ้าผู้ทรงไถ่ในฐานะพระเจ้าแห่งพระธรรมอพยพ พระองค์ทรงนำชนชาติหนึ่งออกจากการเป็นทาสไปสู่อิสรภาพอย่างอัศจรรย์ การไถ่ให้รอดอันยิ่งใหญ่นี้เป็นฉากหลังของเรื่องราวตลอดทั้งพันสัญญาเดิม และเป็นตัวอย่างของพระประสงค์ที่จะมาเป็นพระผู้ไถ่ของเราทั้งหลายพระเจ้าไม่ได้อยู่หากไกลในสดุดีกล่าวถึงความรักอันล้ำลึกของพระเจ้าผู้ไถ่ว่า “ข้าแต่พระเจ้าพละกำลังของข้าพระองค์ข้าพระองค์รักพระองค์พระทรงเป็นพระศิลาป้อมปราการและช่วยกู้ของข้าพระองค์เป็นพระเจ้าของข้าพระองค์เป็นพระศิลาซึ่งข้าพระองค์เข้าลี้ภัยอยู่ในพระองค์เป็นโล่เป็นพลังแห่งความรอดของข้าพระองค์เป็นที่กำบังเข้มแข็งของข้าพระองค์” (สดด.18:1,2)

  9. 5.พระเจ้าแห่งการลี้ภัย5.พระเจ้าแห่งการลี้ภัย กษัตริย์ดาวิดมองดูพระเจ้าว่าทรงเป็นพระที่เราทั้งหลายที่สามารถได้รับการลี้ภัย เหมือนกับ เมืองลี้ภัยทั้งหกแห่งประเทศอิสราเอล (ยชว 20:1-9) ซึ่งตั้งใว้เพื่อช่วยให้เหยื่อผู้ทำผิดโดยไม่เจตนาได้เข้าไปหลบภัย ผู้เขียนพระธรรมสดุดีได้นำเอาการ “ลี้ภัย” ของเรา “เพราะพระองค์จะทรงซ่อนข้าพเจ้า ในกำบังของพระองค์ในยามยากลำบาก พระองค์จะปิดข้าพเจ้าไว้ภายใต้ร่มพลับพลาของพระองค์ พระองค์จะทรงตั้งข้าพเจ้าไว้สูงบนศิลา” (สดด.27:5)

  10. 6. พระเจ้าผู้ทรงให้อภัย หลังจากกษัตริย์ดาวิด ได้ทำบาปด้วยการล่วงประเวณีและฆ่าคน พระองค์ได้วิงวอนด้วยความจริงว่า “ ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงแสดงพระกรุณาต่อข้าพระองค์ตามความรักมั่นคง ของพระองค์”

  11. 7.พระเจ้าผู้สัตย์จริง ถึงแม้ได้เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้าแล้วก็ตาม คนอิสราเอลก็หลงไปจากพระองค์เสียเป็นส่วนใหญ่ (ลนต.26,ฉธบ.28) การให้อภัยอย่างต่อเนื่องของพระเจ้า เปิดเผยให้เห็นถึงพระอุปนิสัยความเป็นองค์ผู้ทรงรัก โดยไม่มีเงื่อนไขของพระองค์ ถึงแม้ว่าพระเจ้าจะยอมให้ชาวอิสราเอลได้รับหายนะอภัยต่างๆ ที่เกิดจากความไม่ซื่อสัตย์ของประชาชน เพื่อเป็นการตีสอนให้หันกลับมาเดินบนหนทางที่ถูกต้อง พระองค์ก็ยังทรงเปิดพระหัตถ์กว้างพร้อมโอบอุ้มพวกเขาด้วยพระเมตตาของพระองค์ด้วย

  12. 8.พระเจ้าแห่งความรอดและการตอบแทน8.พระเจ้าแห่งความรอดและการตอบแทน พระคัมภีร์พันธสัญญาเดิมได้บรรยายพระลักษณะของพระเจ้าว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าแห่งการตอบแทน เห็นได้จากการทำลายคนชอบธรรม ผู้ทรงเคยประสงค์ร้ายต่อประชากรของพระองค์โดย “วันของพระองค์พระผู้เป็นเจ้า” วันนั้นจะเป็นวันแห่งความรอดแห่งประชากรของพระเจ้าและเป็นวันแห่งการุมทำร้ายคนชอบธรรม ะรร

  13. 9.พระเจ้าพระบิดา เมื่อโมเสสกล่าวแก่คนอิสราเอลว่าพระเจ้าทรงเป็นพระผู้ไถ่เขาผู้เป็นเช่นพระบิดาของเขาทั้งหลายพระเจ้าทรงรับเอาคนอิสราเอลเป็นบุตรของพระองค์โดยการไถ่พวกเขาอิสยาห์บันทึกไว้ว่า “ข้าแต่พระเจ้าแต่พระองค์ยังเป็นพระบิดาของข้าพระองค์” (อสย 68:8; 63:16) พระเจ้าทรงยืนยันโดยมาลาคีว่า “เราเป็นพระบิดา” (มลค.1:6)

  14. พระ ใหม่ เจ้า ภีร์ พระ คัม บิดา ใน พระ

  15. 1.พระบิดาผู้ทรงเนรมิตสร้าง1.พระบิดาผู้ทรงเนรมิตสร้าง เปาโลชี้ให้เห็นพระบิดาในพระคัมภีร์พันธสัญญาใหม่อย่างชัดเจน พระเจ้า พระบิดา ทรงเปิดเผยพระองค์ในฐานะผู้ทรงริเริ่มสร้างสรรพสิ่ง (อฟ.3:9) เป็นพระบิดาบรรดาผู้เชื่อแท้ พระองค์ทรงสร้างสวรรค์และแผ่นดินโลก “พระเจ้าผู้ทรงสร้างโลกกับสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในนั้น พระองค์ทรงเป็นเจ้าแห่งฟ้าสวรรค์และแผ่นดินโลก มิได้ทรงสถิตในปูชนียสถานซึ่งมือมนุษย์ได้ระทำไว้”

  16. 2.พระบิดาแห่งสรรพสิ่งที่ทรงสร้าง2.พระบิดาแห่งสรรพสิ่งที่ทรงสร้าง เปาโลทรงชี้ว่าพระเจ้าทรงเป็น พระบิดา ทรงแยกพระองค์ให้เห็นว่าทรงแตกต่างไปจากพระเยซูคริสต์ “มีพระเจ้าองค์เดียวคือพระบิดา ทุกสิ่งเกิดมาจากพระองค์ ทุกสิ่งเกิดมาโดยพระองค์และเราก็เป็นมาโดยพระองค์” (1 โครินธ์ 8:9ยน.1:17)

  17. 3.พระบิดาของบรรดาผู้เชื่อทั้งหลาย3.พระบิดาของบรรดาผู้เชื่อทั้งหลาย ในสมัยพระคัมภีร์พันธสัญญาใหม่ ความผูกพันธ์ระหว่างบิดาแห่งความเชื่อและบุตรนั้นเกิดขึ้นมิใช่ระหว่างพระบิดากับชนชาติอิสราเอล แต่เป็นความผูกพันธ์ระหว่างพระเจ้าและผู้เชื่อแต่ละคน พระเยซูทรงให้คำชี้แนะนำเพื่อการมีความสัมพันธ์นี้ (มธ.5:45; 6:6-15) เพื่อให้เราได้รับฐานะเป็นบุตรและเพราะท่านทั้งหลายเป็นบุตรแล้ว ร้องว่า “อับบา (พ่อ)” (กท.4:5 ,6; รม 8:15,16)

  18. 4.พระเจ้าผู้ทรงประทาน พระเจ้า พระบิดา พระองค์ในฐานะพระเจ้าผู้ทรงประทาน “เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์”

  19. 5.พระบิดาแห่งความรักอันอ่อนหวานและเมตตาสงสาร5.พระบิดาแห่งความรักอันอ่อนหวานและเมตตาสงสาร พระเยซูได้ทรงเปิดเผยแสดงให้เห็นถึงความรักอันเป็นพระลักษณะของพระบิดา เมื่อเราเห็นพระคริสต์ทรงเลี้ยงอาหารแก่ประชาชนที่หิวกระหายเราได้เห็นพระบิดาทรงคลุกคลีอยู่กับมนุษย์นำเอาชีวิตของพระองค์มาสู่เขาเหล่านั้นปลดปล่อยเขาให้เป็นอิสระ ให้ความหวังและชี้เขาไปที่โลกใหม่ที่จะได้รับการสร้างขึ้นไหม่ซึ่งกำลังจะมาถึง พระคริสต์ทรงทราบดีว่าการเผยให้เห็นถึงความรักอันล้ำค่าของพระบิดาคือกุญแจที่จะนำคนทั้งหลายได้กลับใจเสียใหม่ (โรม 2:4)

  20. The End

More Related