1 / 35

การจัดทำบัญชีและ การส อบบัญชีของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAE s )

การจัดทำบัญชีและ การส อบบัญชีของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAE s ). กิจการที่ มี ส่วนได้เสียสาธารณะ (PAEs). กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ซื้อขายในตลาดสาธารณะ หรือกิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่ กลต.

roden
Download Presentation

การจัดทำบัญชีและ การส อบบัญชีของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAE s )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำบัญชีและการสอบบัญชีของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)

  2. กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (PAEs) • กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ซื้อขายในตลาดสาธารณะ หรือกิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่ กลต. • กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง • บริษัทมหาชน • กิจการอื่นที่จะกำหนดเพิ่มเติม

  3. กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) กิจการที่ไม่ใช่ PAEs

  4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย PAEs NPAEs TFRS สำหรับPAEs (Based on IFRS) TFRS สำหรับNPAEs

  5. เนื้อหาของ NPAEs ประกอบด้วย 22 บท

  6. บทที่ 4 การนำเสนองบการเงิน การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ และรูปแบบงบการเงิน เดิม NPAEs งบดุล งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน** งบกำไรขาดทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของเจ้าของ วันที่ในงบดุล วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

  7. บทที่ 4 การนำเสนองบการเงิน

  8. บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงนโยบายฯ การเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี ปรับย้อนหลัง เว้นแต่ไม่สามารถทำได้ในทางปฏิบัติ การเปลี่ยนประมาณการทางการบัญชี เปลี่ยนทันที การแก้ไขข้อผิดพลาด ปรับย้อนหลัง

  9. บทที่ 6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด รายละเอียดประกอบการคำนวณ: (ล้านบาท) เงินสด 10 เงินสดย่อย 20 เงินฝากฯ – ออมทรัพย์ 270 เช็คระหว่างทางค้างจ่าย (180) รวม 120

  10. บทที่ 6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) สินทรัพย์หมุนเวียน (ล้านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 120 PAEs สินทรัพย์หมุนเวียน (ล้านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 300 หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร / เจ้าหนี้การค้า 180 NPAEs

  11. บทที่ 7 ลูกหนี้ รายละเอียดประกอบการคำนวณ: (ล้านบาท) ขายสด 200 ขายเชื่อ 600 ขายรวม 800 อัตราหนี้สงสัยจะสูญ 10% ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 80

  12. บทที่ 7 ลูกหนี้ งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) สินทรัพย์หมุนเวียน (ล้านบาท) ลูกหนี้การค้า 370 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (80) ลูกหนี้การค้า-สุทธิ 290 PAEs สินทรัพย์หมุนเวียน (ล้านบาท) ลูกหนี้การค้า 370 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (60) ลูกหนี้การค้า-สุทธิ 310 NPAEs

  13. บทที่ 8 สินค้าคงเหลือ รายละเอียดประกอบการคำนวณ: (ล้านบาท) สินค้าคงเหลือต้นงวด 100 ซื้อระหว่างงวด 130 สินค้าสูญหาย (50) สินค้าล้าสมัย (40) สินค้าเสื่อมสภาพ (30) สินค้าคงเหลือปลายงวด 110

  14. บทที่ 8 สินค้าคงเหลือ งบกำไรขาดทุน (บางส่วน) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายในการขาย - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 120 รวมค่าใช้จ่าย 120 เดิม ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) ต้นทุนขาย 70 ค่าใช้จ่ายในการขาย - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 50 รวมค่าใช้จ่าย 120 NPAEs

  15. บทที่ 9 เงินลงทุน หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด • ตราสารทุน • หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย - มูลค่ายุติธรรม • ตราสารหนี้ • หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย - มูลค่ายุติธรรม • ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด - ราคาทุนตัดจำหน่ายหักค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า หลักทรัพย์ที่ไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด และเงินลงทุนใน บ.ใหญ่ บ.ย่อย JV • ตราสารทุน • ราคาทุนหักค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า (ถ้ามี) • ตราสารหนี้ • ราคาทุนตัดจำหน่ายหักด้วยค่าเผื่อการลดมูลค่า

  16. บทที่ 9 เงินลงทุน การวัดมูลค่าเมื่อเริ่มแรกของเงินลงทุน • วัดมูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการทำรายการ • ราคาทุนของตราสารหนี้ ไม่รวมดอกเบี้ยที่เกิดก่อนที่กิจการจะได้เงินลงทุน ค่าเผื่อการลดมูลค่าเงินลงทุน • เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนมีมูลค่าลดลงอย่างถาวร • ให้รับรู้ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าในงบกำไรขาดทุน หากกิจการสามารถประมาณได้อย่างน่าเชื่อถือ โดยไม่มีต้นทุนสูงมากเกินไป

  17. บทที่ 10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ PAEs วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุน หรือ วิธีการตีราคาใหม่ NPAEs วัดมูลค่าภายหลังวันที่ได้มาด้วยวิธีราคาทุนเท่านั้น

  18. บทที่ 10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 1. การแยกส่วนประกอบ 2. ค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ 3. ประมาณการรื้อถอน 4. มูลค่าคงเหลือ (ราคาซาก) 5. อะไหล่

  19. บทที่10ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-การแยกส่วนประกอบ รายละเอียดประกอบการคำนวณ - สัญญาก่อสร้างอาคาร สินทรัพย์: อาคาร ลิฟต์ รวม มูลค่า (ล้านบาท) 100 60 160 อายุการใช้งาน (ปี) 20 10 20 ค่าเสื่อมราคาต่อปี (ล้านบาท) 5 6 8

  20. บทที่10ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-การแยกส่วนประกอบ งบแสดงฐานะการเงิน, งบกำไรขาดทุน (บางส่วน) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ล้านบาท) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 160 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (8) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ 152 ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) ค่าเสื่อมราคา 8 เดิม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ล้านบาท) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 160 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (11) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ 149 ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) ค่าเสื่อมราคา 11 NPAEs

  21. บทที่ 10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-ค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ เครื่องจักร อายุ 20 ปี ราคาทุน 200 ล้านบาท ค่าเสื่อมราคาต่อปี 10 ล้านบาท มูลค่าสุทธิทางบัญชี 190 ล้านบาท เดิม เครื่องจักร อายุ 20 ปี ราคาทุน 200 ล้านบาท ส่วนประกอบที่1: 80 ลบ/20 ปี 4 ล้านบาท ส่วนประกอบที่2: 60 ลบ/10 ปี 6 ล้านบาท ส่วนประกอบที่3: 50 ลบ/5 ปี 10 ล้านบาท ส่วนประกอบที่4: ค่าซ่อมแซมใหญ่10 ลบ/5 ปี 2 ล้านบาท ค่าเสื่อราคาต่อปี 22 ล้านบาท NPAEs

  22. บทที่ 10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-ประมาณการรื้อถอน รายละเอียดประกอบการคำนวณ: (ล้านบาท) ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า 110 ประมาณการรื้อถอน 20 สัญญาเช่าอาคารสำนักงาน 15 ปี

  23. บทที่ 10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-ประมาณการรื้อถอน งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ล้านบาท) ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า 110 เดิม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ล้านบาท) ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า 110 อาคารเช่า - ประมาณการรื้อถอน 20 รวมที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 130 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ประมาณการรื้อถอน 20 NPAEs

  24. บทที่ 11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน PAEs หากไม่ทราบอายุการใช้งาน / ระยะเวลาการให้ประโยชน์ที่แน่นอน ห้ามตัดจำหน่าย แต่ให้พิจารณาการด้อยค่าในแต่ละปี และพิจารณาอายุการใช้งานคงเหลือ NPAEs หากไม่ทราบอายุการใช้งาน / ระยะเวลาการให้ประโยชน์ที่แน่นอน ให้ตัดจำหน่าย 10 ปี

  25. บทที่ 12 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน หรือ อาคาร (หรือส่วนของอาคาร) หรือทั้งสองอย่าง วัตถุประสงค์การถือครอง • หาประโยชน์จากการให้เช่า • หวังกำไรจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์ในระยะยาว • ขายตามปกติธุรกิจ • ใช้ในการผลิต • จัดหาสินค้าหรือให้บริการ • ใช้ในการบริหารงานของกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งาน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

  26. บทที่ 12 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ข้อใดถือเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน • อาคารเพื่อให้เช่า ที่ดินเพื่อให้เช่า • ที่ดินที่ยังไม่ได้วางแผน โรงงานเพื่อให้เช่า • รถยนต์เพื่อให้เช่า อาคารโรงงาน • ที่อยู่อาศัยเพื่อพนักงาน • อสังหาริมทรัพย์เพื่อขายของกิจการ Real Estate

  27. บทที่ 12 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน แยกแสดง “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน” แยกต่างหากจาก “ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์” งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) สินทรัพย์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ xx สินทรัพย์ไม่มีตัวตน xx อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน xx สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น xx รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน xx

  28. บทที่ 13 ต้นทุนกู้ยืม เดิม ให้ทางเลือก บันทึกรวมเป็นต้นทุนสินทรัพย์ บันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่าย (ไม่รวมเป็นต้นทุนสินทรัพย์ NPAEs ไม่มีทางเลือก ต้องบันทึกรวมเป็นต้นทุนสินทรัพย์

  29. บทที่ 14 สัญญาเช่า โอนความเป็นเจ้าของ Yes No สิทธิเลือกซื้อสินทรัพย์ ไม่เกินร้อยละ 5 ของราคายุติธรรม Yes สัญญาเช่าการเงิน No ระยะเวลาของสัญญาเช่าครอบคลุมอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ อย่างน้อยร้อยละ 80 Yes No NPV ของจำนวนเงินขั้นต้นที่ต้องจ่ายมีจำนวนเท่ากับหรือเกือบเท่ากับ FVของสินทรัพย์ที่ให้เช่า 90%ของ FV Yes No สัญญาเช่าดำเนินงาน

  30. บทที่ 15 ภาษีเงินได้ • กิจการต้องรับรู้ภาษีเงินได้ที่ต้องชำระให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน โดยวิธีภาษีเงินได้ค้างจ่าย • ภาระภาษีเงินได้ที่กิจการค้างชำระสุทธิจากภาษีหัก ณ ที่จ่ายให้รับรู้เป็นหนี้สิน • สามารถเลือกใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ แทนได้ (แต่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดใน TFRSsทุกข้อ อย่างสม่ำเสมอ)

  31. บทที่ 16 ประมาณการหนี้สิน เดิม Pay As You Go NPAEs • กำหนดให้รับรู้ผลประโยชน์พนักงานตามหลักการรับรู้รายการ ด้วยจำนวนประมาณการที่ดีที่สุด ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน • อาจเลือกปฏิบัติตาม TAS 19

  32. บทที่ 18 รายได้ PAEs ดอกเบี้ยรับต้องรับรู้ตามวิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง NPAEs ดอกเบี้ยรับต้องรับรู้ตามวิธีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง หรือ วิธีอื่นที่ให้ผลไม่แตกต่างจากวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงอย่างมีสาระสำคัญ

  33. บทที่ 19 การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ PAEs รับรู้รายได้ทั้งจำนวน NPAEs สามารถเลือกรับรู้ รับรู้รายได้ทั้งจำนวน รับรู้รายได้ตามอัตราส่วนของงานที่ทำเสร็จ รับรู้รายได้ตามจำนวนเงินค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ

  34. บทที่ 21 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • เงินตราต่างประเทศ หมายถึง สกุลเงินอื่นนอกเหนือจากสกุลเงินบาท • ไม่กล่าวถึงการกำหนดสกุลเงินที่ใช้ในการดำเนินงาน (Functional Currency) • ไม่กล่าวเกี่ยวกับหน่วยงานต่างประเทศและการแปลงค่าหน่วยงานในต่างประเทศ

  35. บทที่ 22 การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงและวันถือปฏิบัติ • ให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 • รับรู้ผลกระทบโดยวิธีปรับย้อนหลัง หากไม่สามารถทำได้ในทางปฏิบัติให้ใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป

More Related