480 likes | 679 Views
นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย. สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 29 กันยายน 2551. หัวข้อสนทนา. 1) อุตสาหกรรมยานยนต์กับระบบเศรษฐกิจไทย 2) ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 3) นโยบายเขตการค้าเสรี 4) นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์. อุตสาหกรรมยานยนต์กับ ระบบเศรษฐกิจไทย.
E N D
นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยนโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 29กันยายน 2551
หัวข้อสนทนา 1) อุตสาหกรรมยานยนต์กับระบบเศรษฐกิจไทย 2) ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 3) นโยบายเขตการค้าเสรี 4) นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์
อุตสาหกรรมยานยนต์กับ ระบบเศรษฐกิจไทย
อุตสาหกรรมยานยนต์สร้างมูลค่าร้อยละ 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม อุตสาหกรรมรถยนต์สร้างมูลค่าเพิ่มสูงต่อระบบเศรษฐกิจของไทย 573,000ล้านบาท 712,000ล้านบาท ล้านบาท (ในรูปของภาษีที่จัดเก็บได้) 2549 2550
อุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การบริโภค (Consumption) ตลาดภายในประเทศประมาณ 700,000 คันต่อปี (2550) • ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน • ใหญ่เป็นอันดับ 4 ในทวีปเอเซีย รองจากญี่ปุ่น จีน อินเดีย และเกาหลีใต้ สัดส่วนรถยนต์ต่อจำนวนประชากรของไทยยังอยู่ในระดับต่ำ (รถยนต์ 1 คันต่อประชากร 10 คน) • จำนวนรถยนต์ต่อ ประชากร1,000 คน • ไทย 100 คัน • ญี่ปุ่น 435 คัน • สหรัฐ 785 คัน ตลาดภายในประเทศมีศักยภาพในการเติบโต
อุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การลงทุน(Investment) ในปี 2007 มูลค่าการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์ประมาณ ร้อยละ 16 ของการลงทุนทั้งหมด จำนวนโครงการ มูลค่าการลงทุน พันล้านบาท จำนวน มูลค่ารวม 373.20 744.50 ยานยนต์ 55.30 120.10
การลงทุนในยานยนต์ปี 2007 - 2008 การลงทุน 2007 • Tata Motor • Auto Alliance • Honda (Eco Car) • Siam-Nissan (Eco Car) • Thai Bridgestone • Tokai Eastern Rubber • General Motors • Dongwon • Tire Mold • Sumitomo Rubber • Young Tech • KLT Automotive…. การลงทุน 2008 โครงการ Eco car จะก่อให้เกิดมูลค่าเงินลงทุนทั้งระบบ (รวมชิ้นส่วนยานยนต์) ประมาณ 200,000 ล้านบาท • Mitsubishi, Suzuki, Toyota, Tata (Eco Car) • ชิ้นส่วนยานยนต์
มูลค่าการส่งออกสูงสุดเป็นอันดับ 2 • มูลค่าการส่งออกสูงสุดเป็นอันดับ 2 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8 ของมูลค่าการส่งออกโดยรวม • อัตราการขยายตัวของการส่งออกเฉลี่ยประมาณร้อยละ 30 ต่อปี • มูลค่านำเข้าในปี 2551 (ม.ค.-ส.ค.) = 2,715 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยก้าวสู่Export Oriented Country สัดส่วนการส่งออกรถยนต์ ปี 2550 (ตามมูลค่า) ชิ้นส่วนยานยนต์ส่งออกสำคัญ • เพลาส่งกำลังและข้อเหวี่ยง • ชุดสายไฟรถยนต์ • เครื่องยนต์สันดาปายใน • ยาง • หม้อแบตเตอรี่และส่วนประกอบ • กระจกนิรภัยและกระจกรถยนต์ ปี 2550 ส่งออก 144,000 ล้านบาท
สร้างมูลค่าเพิ่มภายในประเทศ(Local Value Added) ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปีที่เกษตรกร ขายได้เฉลี่ยของปี 2550 = 8,900 บาทต่อเกวียน
Long Supply Chain Raw Materials อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติก อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยาง ฯลฯ R & D สถาบันการศึกษาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ Part Manufactures 1st Tier 648 ราย 2nd & 3rd Tier1,641 ราย Assembler รถยนต์ 17 ราย รถจักรยานยนต์ 7 ราย เกิดการจ้างงานในประเทศ (ทางตรงและทางอ้อม) จำนวนมาก
ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย Auto Clusters
กำลังการผลิตขยายเป็น 2.5 ล้านคัน ในปี 2557 Capacity 2,500,000 Units 2,500,000 PU & Commercial 46% 2,000,000 Capacity 1,647,710 Units ECO Cars 1,500,000 PU & Commercial 69% PC 54% 1,000,000 PC 31% 2551 2557
ภาพรวมอุตสาหกรรมรถยนต์ภาพรวมอุตสาหกรรมรถยนต์
ภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์
ชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับ • Engines • Diesels, Motorcycles • Engines Components • Starters, Alternators, Filters, Hoses, Gears, Flywheels • Body Parts • Chassis, Bumpers, Fenders, Hoods, Door Panels • Brake Systems • Master Cylinders, Drums, Discs, Pads, Linings • Steering Systems • Steering Wheels, Gears, Columns, Pumps, Linkages • Suspensions • Shocks, Coils, Ball Joints • Transmissions • Gears, Casting, Rear Axles, Drive Shafts, Propeller Shafts • Electrical/Electronics • Alternators, Starters, Speedometers, Lamps, Motors, Flashers Relays • Interiors/Exteriors • Seats, Mats, Weather Strips, Console Boxes • Others • Windshields, Seat Belts, Radiators, Wheels, Compressors
World Production 2007 UNIT No. 14 1,287,346
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ก้าวสู่การผลิตระดับโลก
ขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ตลาดโลกเฉลี่ย 5.7% (2007)
ขีดความสามารถในการแข่งขัน (2)อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ขีดความสามารถในการแข่งขัน (3)อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
Free Trade Agreementของไทยในปัจจุบัน Current FTA In Process FTA Thailand-Australia FTA (Since January 2005) ASEAN-India FTA ASEAN-China FTA (Since July 2005) Thailand-US FTA Thailand-New Zealand FTA (Since July 2005) Thailand-Peru FTA BIMSTEC FTA (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) Thailand-India FTA (Since September 2006) Japanese Thailand Economic Partnership Agreement (Starting November 2007) ASEAN-Korea FTA
ประโยชน์ของเขตการค้าเสรีต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ประโยชน์ของเขตการค้าเสรีต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ • การรวมเป็นตลาดเดียว (Single Market) ทำให้เกิดตลาดที่มีผู้บริโภคจำนวนมากขึ้น • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อันเนื่องจาก การผลิตที่ระดับประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale)
รวมจำนวนประชากรรวม 3,000 ล้านคน China: Pop. 1.3 billion Early Harvest :China-Thailand 2006 Thai exports: 445,978 million baht Japan: Pop. 128 million Japan-Thailand Economic Partnership Agreement India: Pop.1.1 billion Early Harvest Agreement 2006 Thai exports: 68,716.6 million baht ASEAN:Pop. 550 million AFTA 2006 Thai exports: 1,029,180 million baht Australia: 20 million TAFTA 2006 Thai exports 192,893.9 million baht New Zealand: Pop. 4 million Closer Economic Partnership 2006 Thai exports: 19,946.8 million baht
ประโยชน์ของเขตการค้าเสรีต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ประโยชน์ของเขตการค้าเสรีต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ • การรวมเป็นตลาดเดียว (Single Market) ทำให้เกิดตลาดที่มีผู้บริโภคจำนวนมากขึ้น • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อันเนื่องจาก การผลิตที่ระดับประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) • เป็นแนวทางหนึ่งในการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ • โครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น โครงการ AHRDP
อุตสาหกรรมยานยนต์เมื่อไร้กำแพงภาษีอุตสาหกรรมยานยนต์เมื่อไร้กำแพงภาษี เมื่อไร? • การลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ภายใต้ AFTA ในปี 2553 (2010) • การเปิดเสรีการค้าและการลงทุนของประเทศพัฒนาภายใต้ APEC’sBogor Goal ในปี 2553 (2010)ในขณะที่ประเทศกำลังพัฒนากำหนดจะเปิดเสรีภายในปี 2563(2020) • การจัดทำ Bilateral FTA ของประเทศต่างๆ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น • (213 ฉบับ) • การเจรจารอบโดฮา (Doha Round) ของ WTO ครั้งล่าสุดไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากประเทศสมาชิกเห็นว่า ยังไม่มีความสมดุลระหว่างการเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตร และยังมีการคงมาตรการที่บิดเบือนตลาด ประเทศพัฒนาแล้ว ลดภายใน 6 ปี ? ประเทศกำลังพัฒนา ลดภายใน 10 ปี
แนวคิดในการจัดทำเขตการค้าเสรีแนวคิดในการจัดทำเขตการค้าเสรี • สร้างความพร้อมในการเป็นฐานการผลิต (Production Base) ภายในประเทศก่อนเปิดเสรีการค้า • เลือกเปิดเสรีการค้ากับประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันเท่าเทียมหรือต่ำกว่า • กำหนดยุทธศาสตร์การเจรจาเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ เช่น การเปิดสินค้าอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพแลกกับสินค้าเกษตร • การขจัดมาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษี (NTB) ภายในประเทศของคู่เจรจา • กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (RoO concept) ไม่ควรซับซ้อนและ ไม่มีควรแตกต่างกันในแต่ละกรอบการค้า
นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์
เป้าหมายและแนวนโยบายของภาครัฐเป้าหมายและแนวนโยบายของภาครัฐ Reduced excise tax rate Reduced tariff tax rate • Repealing prohibition on import of all types of vehicles • Tax Restructuring • Increased local content • 54% for PC • 60-72% for PU • 45% for Truck&Bus • Abolished local content • Tax Restructuring CKD from 20% to 33% • Repealing limitation of 42 series of passenger car assembly • Increased local content from 25%to 50% for passenger cars • Limited 42 series for passenger car assembly • Investment promotion • Tax reduction for export • Repealing prohibition on establishing vehicle assembly factory Diesel engine was compulsory parts of pick up Units Protection Liberalization & Promotion Globalization
เป้าหมายและแนวนโยบายของภาครัฐเป้าหมายและแนวนโยบายของภาครัฐ “การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ในเอเชีย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย โดยมีอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีความแข็งแรง” วิสัยทัศน์ • International Car • การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ระดับโลกใน 3 ผลิตภัณฑ์หลัก : PU1 ตัน, MC คุณภาพ, ECO Car • ชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศที่มีศักยภาพ เป้าหมาย /ทิศทาง กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนามาตรฐาน และการวิจัย กลยุทธ์ที่ 3 การยกระดับบุคลากร และผู้ประกอบการ กลยุทธ์ที่ 1 การชี้ทิศทาง และสร้างโอกาส กลยุทธ์
“International Car” Policy ให้ความเสรี เท่าเทียม และโปร่งใสแก่นักลงทุนทุกราย • สร้างและจะรักษาไว้ซึ่งชื่อเสียงในการมีบรรยากาศทางธุรกิจที่เอื้อต่อการเป็นฐานการผลิตและส่งออกยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ • มีความพร้อมทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรบุคคล • มีฐานอุตสาหกรรมต้นน้ำ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศ • ที่เข้มแข็ง
กลยุทธ์ที่ 1การชี้ทิศทางและสร้างโอกาส การวางทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อรองรับพัฒนาการของเศรษฐกิจสังคมและวิถีชีวิตยุคใหม่ และสอดคล้องกับโลกในยุคปัจจุบัน รวมทั้งการสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการไทย • โครงการรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล หรือ ECO Car
Agile Clean Economical รถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล “ ECO car ” withSafety
Eco-Car Project Quality Productcompatible with environment, fuel economicand social , in line with global trend what • Fuel consumption : < 5 litres per 100 km • Car emissions : Euro 4 or higher, with CO2 emissions < 120 grams per km • Safety : full front- and side-impact protection based on UNECE specifications 6 proposal from leading Auto-Manufacturers are approved
ผู้ผลิตรถยนต์ที่ได้รับผู้ผลิตรถยนต์ที่ได้รับ การอนุมัติจาก BOI
Eco Car ส่งผลดีต่อการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมและประชาชน ยานยนต์ • การขยายฐานการผลิตและส่งออกของไทยโดยการลงทุนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ • การพัฒนามูลค่าเพิ่มในประเทศจากอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์นั่งให้ทัดเทียมอุตสาหกรรมรถยนต์ปิกอัพ • การสร้างความยั่งยืนและเป็นการกระจายความเสี่ยงของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ชิ้นส่วนยานยนต์ • ส่งผลต่อเนื่องให้เกิดการลงทุนผลิตและส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์จำนวนมาก (ทั้ง OEM และ REM) • การขยายฐานการผลิตและส่งออกชิ้นส่วนของรถยนต์ประเภทใหม่ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง • การพัฒนาอุตสาหกรรมต้นน้ำและวัตถุดิบ เช่น เหล็กและเหล็กกล้า พลาสติก ยางสังเคราะห์ ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมสนับสนุน ได้แก่ แม่พิมพ์และดายน์ ประชาชน • การชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของ CO2(สาเหตุสำคัญของปัญหาภาวะโลกร้อน) • การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย • การชะลอการสูญเสียของประเทศจากการนำเข้าเชื้อเพลิง
กลยุทธ์ที่ 1การชี้ทิศทางและสร้างโอกาส การวางทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อรองรับพัฒนาการของเศรษฐกิจสังคมและวิถีชีวิตยุคใหม่ และสอดคล้องกับโลกในยุคปัจจุบัน รวมทั้งการสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการไทย • โครงการรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล หรือ ECO Car • การสร้างโอกาสทางการค้าโดยการขยายตลาดต่างประเทศ • การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านการ ประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ITS
กลยุทธ์ที่ 2การพัฒนามาตรฐานและการวิจัย การส่งเสริมพัฒนาการด้านปัญญาให้กับอุตสาหกรรมที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย • ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ (Contracting parties) ของ UNECE WP.29, 1958 agreements เมื่อเดือนพฤษภาคม 2549 • ดำเนินการออกมาตรฐานที่จำเป็น • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการทดสอบ
กลยุทธ์ที่ 3การยกระดับบุคลากรและผู้ประกอบการ การเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ (Productivity) เพื่อยกระดับความสามารถของบุคลากรและผู้ประกอบการ • HRD programs for new • automotive investment • LEAN Manufacturing or • Toyota Production System (TPS) • ISO/TS 16949 Standard • Total Productive Maintenance (TPM) • Electronic Data Interchange (EDI) AHRDP - และโครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ (AHRDP)
IndustrialPolicies IndustrialInformation IndustrialKnowledge For More Industrial information, please visitwww.oie.go.th
ที่มา • ดุสิต อนันตรักษ์ • http://www.thaifta.com/trade/ppt/sem_dussep51.ppt • สืบค้นวันที่ 9 กันยายน 2552