200 likes | 336 Views
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของสถาบันอุดมศึกษา. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา อรสา ภาววิมล 11 มิ.ย. 2553. ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้. ผลการประเมินคุณภาพภายในประจำปีการศึกษา 2551 ระบบฐานข้อมูลประกันคุณภาพภายใน CHE QA Online.
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษา โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา อรสา ภาววิมล 11 มิ.ย. 2553
ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการประเมินคุณภาพภายในประจำปีการศึกษา 2551 ระบบฐานข้อมูลประกันคุณภาพภายใน CHE QA Online
วิเคราะห์จำแนกสถาบัน 5 ประเภท 4 กลุ่ม
การสะท้อนความโดดเด่นของสถาบันการสะท้อนความโดดเด่นของสถาบัน
การสะท้อนความโดดเด่นของสถาบันการสะท้อนความโดดเด่นของสถาบัน
ผลการดำเนินงานที่ได้มาตรฐานสอดคล้องกัน จำนวน 12 ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานที่ไม่ได้มาตรฐานสอดคล้องกัน องค์ประกอบคุณภาพ : การเรียนการสอน 1. จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 2. สัดส่วนคุณวุฒิอาจารย์ (ตรี โท เอก) 3. สัดส่วนการดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ( ผศ. รศ. และ ศ.)
เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปี การศึกษา 2550 และ 2551 จำแนกตามประเภทสถาบัน 5 ประเภท
เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 และ 2551 จำแนกกลุ่มสถาบัน 4 กลุ่ม
พัฒนาการของสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาการของสถาบันอุดมศึกษา • ม.รัฐและม.ในกำกับของรัฐมีพัฒนาการดีขึ้นแทบทุกองค์ประกอบ ยกเว้นด้านการเรียนการสอน และด้านปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดำเนินการที่มีพัฒนาการถดถอยลง • ม. เทคโนโลยีราชมงคลและม.ราชภัฏ มีพัฒนาการแบบไม่คงที่ มีทั้งพัฒนาขึ้นและลดลง • ม.เอกชนมีพัฒนาการถดถอยลงทุกองค์ประกอบคุณภาพ • กลุ่มผลิตบัณฑิตและวิจัย และกลุ่มผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมมีพัฒนาการดีขึ้นขึ้น ยกเว้นเรื่องการบริหารและการจัดการ และเรื่องการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา • กลุ่มผลิตบัณฑิต มีพัฒนาการแบบไม่คงที่ โดยมีทั้งพัฒนาขึ้นและลดลง • กลุ่มผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคมมีพัฒนาการถดถอยลงในทุกองค์ประกอบ
ระบบฐานข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษา :CHE QA Online • ฐานข้อมูลรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษา • ฐานข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถิติต่าง ๆ ของสถาบันอุดมศึกษา อาทิ จำนวนหลักสูตรที่เปิดสอนแต่ละระดับ จำนวนบัณฑิต ป.ตรีที่ได้งานทำ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน จำนวนนักศึกษาแต่ละระดับ จำนวนอาจารย์จำแนกตามคุณวุฒิ/ตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนเงินสนับสนุนการวิจัย จำนวนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน รายรับ-ค่าใช้จ่ายของสถาบัน
ข้อเสนอเชิงนโยบาย • ปัญหาร่วมของทุกประเภทและทุกกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ FTES คุณวุฒิอาจารย์ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคุณภาพการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต กำหนดนโยบายและมาตรการส่งเสริม รวมทั้งกำกับติดตามให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถดำเนินงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด รวมถึงการทบทวนแผน/มาตรการการดำเนินงานส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านมา ทั้งในเรื่องของการรับนักศึกษา การพัฒนาอาจารย์ และการพัฒนานิสิตนักศึกษา
ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ต่อ) • กำหนดนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา โดยสถาบันที่มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดีขึ้นไป ให้มุ่งพัฒนาคุณภาพไปสู่มาตรฐานสากล • ส่วนสถาบันที่มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับไม่ได้มาตรฐานให้มุ่งพัฒนาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด • หรืออาจใช้หลักการพัฒนาคุณภาพเป็นรายๆ (tailor made) ตามความต้องการพัฒนาเฉพาะของแต่ละสถาบัน
ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ต่อ) • ผล IQA ทุกประเภทและทุกกลุ่มอยู่ในระดับดีมาก สะท้อนให้เห็นว่าการประกันคุณภาพภายการศึกษาภายในของสถาบันยังไม่สะท้อนถึงผลผลิต/ผลลัพธ์ในด้านคุณภาพของบัณฑิตและสถาบัน ควรวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาและให้การส่งเสริมให้การประกันคุณภาพเชื่อมโยงกับเป้าหมายของทุกพันธกิจของสถาบันและผสานเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำ รวมทั้งการนำผลการประเมินคุณภาพไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพ
ขอบคุณค่ะ • ท่านสามารถติดตามข้อมูลและความเคลื่อนไหวของการประกันคุณภาพการศึกษาได้ที่ http://www.mua.go.th/users/bhes/index.htm