1 / 120

การบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง

การบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง. งานก่อสร้าง หมายถึง การประกอบการเกี่ยวกับการก่อสร้าง อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางเรือ ทางน้ำ ถนน โทรศัพท์ ก๊าซ หรือประปา และ หมายความรวมถึงการต่อเติม ซ่อมแซม ซ่อมบำรุง ดัดแปลงหรือรื้อถอนอาคารหรือสิ่งก่อสร้างนั้นๆ. แนวคิดในการบริหาร.

robyn
Download Presentation

การบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงานอาชีวอนามัยการบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง

  2. งานก่อสร้าง หมายถึง การประกอบการเกี่ยวกับการก่อสร้าง อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางเรือ ทางน้ำ ถนน โทรศัพท์ ก๊าซ หรือประปา และ หมายความรวมถึงการต่อเติม ซ่อมแซม ซ่อมบำรุง ดัดแปลงหรือรื้อถอนอาคารหรือสิ่งก่อสร้างนั้นๆ

  3. แนวคิดในการบริหาร

  4. ธุรกิจ ความเป็นสากล การบริหารความปลอดภัยแบบดั้งเดิม การบริหารความปลอดภัยสมัยใหม่ แรงงาน/สังคมที่เปลี่ยนไป โลกาภิวัฒน์

  5. ทัศนคติความปลอดภัย พิสูจน์ ตนเอง ชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ ความปลอดภัย ปัจจัยสี่ MASLOW’S HIERACHY NEED 1/0

  6. ความหมายและขอบเขตของความปลอดภัยในการทำงานความหมายและขอบเขตของความปลอดภัยในการทำงาน “Occupational Safety and Health ”หมายถึง “ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน ของผู้ประกอบอาชีพ ” “ Working Condition and Environment ”หรือ “Working Condition and Occupational Safety and Health ” หมายถึง “ สภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ”

  7. ขอบเขตของความปลอดภัยในการทำงานขอบเขตของความปลอดภัยในการทำงาน 1. เพื่อคุ้มครองผู้ใช้แรงงานไม่ให้ทำงานที่เสี่ยง 2. จัดให้ผู้ใช้งานทำงานในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3. ส่งเสริมและธำรงสุขภาพอนามัยจิตใจและ ความเป็นอยู่ของผู้ใช้แรงงานให้สมบูรณ์ 4. ป้องกันสุขภาพอนามัยมิให้เสื่อมโทรมหรือผิด ปกติอันเนื่องมาจากการทำงาน

  8. ทัศนคติความปลอดภัย ปัจจัยการเกิดอุบัติภัย A = S X R X C ACCIDENT = HAZARD SOURCE X RECEIVER X CONTACT อุบัติเหตุ = แหล่งอันตราย x ผู้รับอันตรายx การสัมผัส 1/0

  9. { ค่าใช้จ่ายการบาดเจ็บ & เจ็บป่วย 1 • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าเงินทดแทน { ค่าทรัพย์สินเสียหาย ผลิตภัณฑ์และวัสดุเสียหาย 5 - 50 1 - 3 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ค่าใช้จ่ายอุบัติเหตุ ICEBERG

  10. H.W. Heinrich สรุปสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุ • การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Acts) • สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition)

  11. ลักษณะของอุบัติเหตุในงานก่อสร้างลักษณะของอุบัติเหตุในงานก่อสร้าง • เกิดจากคนงานก่อสร้าง • เกิดตามลักษณะงานและอันตราย • เกิดจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

  12. อันตรายจากงานเข็ม • การขนส่งเข็ม • การประกอบปั้นจั่น • ขณะตอกอาจกระแทกมือ/เท้า • สลิงดึงตุ้มน้ำหนักขาด • ปั้นจั่นล้ม • รูเสาเข็ม • การสะเทือนจากการตอก

  13. อันตรายจากนั่งร้าน / ค้ำยัน • การพังทลาย • ผู้ปฏิบัติงานตกจากนั่งร้าน • การทรุดตัวของนั่งร้าน / ค้ำยัน • ของบนนั่งร้านตกใส่ผู้ปฏิบัติงานด้านล่าง

  14. ลักษณะของอุบัติเหตุเกี่ยวกับนั่งร้านลักษณะของอุบัติเหตุเกี่ยวกับนั่งร้าน • ตกจากที่สูง • วัตถุ/วัสดุ/สิ่งของตกจากนั่งร้าน • นั่งร้านยุบตัวบางส่วน / ทั้งหมด • การใช้นั่งร้านเกินพิกัดการรับน้ำหนัก • ทางเดินบนนั่งร้านไม่ปลอดภัย • นั่งร้านล้ม / โค่นจากความไม่สมดุล • นั่งร้านล้ม / โค่นจากการทรุดตัวของพื้น

  15. อันตรายจากปั้นจั่น • วัสดุตกลงมาขณะทำการขนย้าย • วัสดุ/กระบะใส่วัสดุกระแทกผู้ปฏิบัติงาน • บรรทุกน้ำหนักเกินอัตรา • ความผิดพลาดจากการให้สัญญาณ • การล้มของปั้นจั่น • ขาดการทำ PM ชิ้นส่วนเช่น สลิง,เบรก • ผู้ปฏิบัติงานตกจากปั้นจั่น

  16. อันตรายจากไฟฟ้า • การใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ชำรุด • การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ • การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ผิดวิธี • การวางสายไฟบนพื้นขณะทำงาน • ทำงานใกล้สายไฟแรงสูง • ทำงานโดยไม่ตัดกระแสไฟฟ้าออก

  17. อันตรายจากการขุดและรถแทรกเตอร์อันตรายจากการขุดและรถแทรกเตอร์ • อันตรายจากการเคลื่อนที่ของตัวรถ • การทรุดตัวของดิน • การชนกันของรถ • การปรับระดับดินเพื่อทำฐานราก อาจชน กระแทกเสาเข็มเสียหาย • การทดลองขับโดยไม่มีความชำนาญ และไม่มีหน้าที่

  18. ระบบการบริหารงานความปลอดภัยในงานก่อสร้างระบบการบริหารงานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง

  19. ชี้บ่งแหล่งที่ทำให้เกิดความสูญเสียชี้บ่งแหล่งที่ทำให้เกิดความสูญเสีย ประเมินค่าความเสี่ยง NO NO YES YES ทำการขจัดแหล่งความ สูญเสียออกไป ขจัดทิ้ง I ชี้บ่งกิจกรรม S กำหนดมาตรฐาน M ทำการตรวจวัด Eประเมินผล Cแนะนำ/แก้ไข ? NO แก้ไข ? YES -ทำประกันภัย -ให้บริษัทรับเหมาช่วง NO ยอมรับ ? YES โอนถ่าย ? กระบวนการบริหารควบคุมความสูญเสีย เฝ้าติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติ

  20. E E P M แหล่งความสูญเสีย P คน E อุปกรณ์ M วัสดุ E สิ่งแวดล้อม แหล่งควบคุม

  21. การจัดองค์กรบริหารความปลอดภัย การจัดองค์กรบริหารความปลอดภัย • กำหนดนโยบายอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน • จัดตั้งคณะกรรมการ ความปลอดภัยตามกฏหมาย • จัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (จป ) ตามกฏหมาย

  22. ตัวอย่างนโยบายความปลอดภัย 1. ความปลอดภัยในการทำงานเป็นหน้าที่ของพนักงานทุกคน 2. บริษัทฯ จะสนับสนุนการฝึกอบรม และการจูงใจพนักงาน การพัฒนาสภาพการทำงานสภาพแวดล้อม ให้ถูกสุขลักษณะและปลอดภัยตลอดจนส่งเสริมกิจกรรมความปลอดภัยอื่น ๆ 3. ผู้บังคับบัญชาทุกคน ต้องควบคุมดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา ให้มีและใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่ เหมาะสม 4. ผู้บังคับบัญชาทุกคน ต้องฝึกสอนและเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยแก่พนักงาน 5. ผู้บังคับบัญชา ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจนอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ และสภาพการทำงาน 6. พนักงานทุกคน ต้องดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ทำงาน 7. พนักงานทุกคนต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง และเพื่อนร่วมงานตลอดจนทรัพย์สินของบริษัทฯ 8. พนักงานทุกคนต้องให้ความร่วมมือในโครงการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน ต่าง ๆ ของบริษัทฯ 9. บริษัทฯ จะถือผลเกี่ยวกับความปลอดภัยเป็นหลักเกณฑ์หนึ่งในการประเมินผลการปฏิบัติงาน

  23. โครงสร้างคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ประธานกรรมการ กรรมการผู้แทนฝ่าย ผู้บริหาร กรรมการผู้แทนฝ่ายพนักงาน เลขานุการ ฯ (จป วิชาชีพ )

  24. สิ่งที่นายจ้างต้องรายงานราชการสิ่งที่นายจ้างต้องรายงานราชการ • นายจ้างแต่งตั้ง จป. ตามแบบ จป.1/30 • จป.วิชาชีพ ต้องส่งรายงาน • จป.3/30 ทุก 3 เดือน • จป.4/30 ทุกครั้งที่มีอุบัติเหตุ • ตรวจสอบเครนด้วย คป. 2

  25. การจัดระบบความปลอดภัย การจัดระบบความปลอดภัย • การตรวจสอบความปลอดภัย • การตรวจสอบระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย • การตรวจประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน • จัดทำคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน • จัดทำขั้นตอนการสอบสวนอุบัติเหตุ • การจัดทำสถิติการเกิดอุบัติเหตุในงานก่อสร้าง

  26. การจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลและควบคุมการสวมใส่การจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลและควบคุมการสวมใส่ • จัดให้มี 3 ส. เพื่อความปลอดภัย • การอบรมความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ • จัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยที่เหมาะสม

  27. จัดระบบการปฐมพยาบาล • จัดทำแผน ฉุกเฉินป้องกันและระงับอัคคีภัยและทำการซ้อมตามแผน • จัดทำกฏความปลอดภัยทั่วไปและ • กฏเฉพาะงาน

  28. กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง (โดยตรง)

  29. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524 สาระสำคัญของกฎหมาย 1. ลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราวมี 2 ชนิดคือ ชนิดสร้าง ภายในหอลิฟท์และสร้างภายนอกหอลิฟท์ 2. ลิฟท์ที่สูงเกิน 9 เมตร ต้องให้วิศวกรสาขาโยธา ออกแบบและคำนวณโครงสร้าง 3. ฐานรองรับหอลิฟท์ หอลิฟท์ ตัวลิฟท์ คานสำหรับ ติดตั้งรอกและฐานที่ต้องรองรับคานต้องมีความมั่นคงแข็งแรง

  30. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524 4. ล้าลิฟท์ติดตั้งภายในหอลิฟท์ ต้องมีลวดตาข่ายหรือ ไม้ตีเว้นช่องไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ไม่เกิน 10 เซนติดเมตร ปิดยึดโครงหอลิฟท์ทุกด้านสูงไม่น้อยกว่า 2 เมตร จากพื้นหอลิฟท์ยกเว้นทางขนของเข้า - ออก ภายในหอลิฟท์และสร้างภายนอกหอลิฟท์ 5. ถ้าลิฟท์ติดตั้งภายนอกหอลิฟท์ ต้องมีรั้วล้อมรอบ บริเวณหอลิฟท์

  31. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524 6. ทางเดินระหว่างลิฟท์กับสิ่งก่อสร้าง ต้องมีราวกัน ตกสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร และไม่เกิน 1.10 เมตร จากพื้นทางเดิน มีขอบกันตกสูงไม่น้อยกว่า 7 เซนติเมตรจากพื้นทางเดิน มีไม้หรือโลหะขวางกั้นปิดเปิดได้สูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ไม่เกิน 1.10 เมตรจากพื้นทางเดิน ห่างจากลิฟท์ไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร

  32. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524 7. ปล่องลิฟท์ที่ไม่มีผนังกั้น ต้องมีรั้วที่แข็งแรงปิดกั้น ทุกด้านสูงไม่น้อยกว่า 2 เมตรจากพื้นแต่ละชั้นเว้นทางเข้า - ออก ต้องมีไม้หรือโลหะกั้นปิดเปิดได้สูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ไม่เกิน 1.10 เมตรจากพื้น 8. ให้มีผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมการใช้ลิฟท์มาแล้ว ทำหน้าที่บังคับลิฟท์ประจำตลอดเวลา

  33. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524 9. มีข้อบังคับการใช้ลิฟท์ติดไว้บริเวณลิฟท์ 10. ห้ามใช้ลิฟท์ที่ชำรุดหรือไม่พร้อมใช้งาน 11. ติดป้ายบอกพิกัดการบรรทุกที่ลิฟท์ 12. ห้ามลูกจ้างขึ้นไปกับลิฟท์

  34. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยนั่งร้าน ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2525 ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้ ในงานก่อสร้าง • ไม่ใช้บังคับ • 1. การก่อสร้างอาคารที่ใช้ไม้เป็นส่วนใหญ่มีความสูง • ไม่เกิน 7 เมตร • 2. งานซ่อมแซมหรือตกแต่งที่ใช้ผู้ปฏิบัติงานคราวละ • ไม่เกิน 2 คน • 3. งานติดตั้งประปา ไฟฟ้า หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ • ผู้ปฏิบัติงานคราวละไม่เกิน 2 คน

  35. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยนั่งร้าน ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2525 สาระสำคัญของกฎหมาย 1. การทำงานสูงเกิน 2 เมตรขึ้นไป ต้องสร้างนั่งร้าน 2. กรณีไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดแบบนั่งร้านมาตรฐาน ต้องจัดให้มีวิศวกรเป็นผู้ออกแบบและกำหนดราย ละเอียดนั่งร้าน 3. กรณีที่มีการใช้ลิฟท์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ห้ามยึดโยง หอลิฟท์กับนั่งร้าน และต้องป้องกันการกระแทกนั่ง ร้านระหว่างขนส่งวัสดุขึ้น - ลง

  36. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยนั่งร้าน ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2525 4. พื้นนั่งร้านต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 35 เซนติเมตร 5. ต้องทำราวกันตกสูงจากพื้นนั่งร้าน 0.90 - 1.10 เมตร 6. ต้องจัดทำบันไดเพื่อใช้ขึ้น - ลง ในนั่งร้าน 7.ต้องจัดผ้าใบหรือวัสดุอื่นปิดคลุมโดยรอบ ๆ นอกนั่งร้าน 8. ต้องมีแผงไม้หรือผ้าใบปิดคลุมส่วนที่กำหนดเป็น ช่องทางเดินใต้นั่งร้าน

  37. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยนั่งร้าน ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2525 9. กรณีมีการทำงานหลาย ๆ ชั้นพร้อมกันต้องจัดสิ่ง ป้องกันอันตรายต่อผู้ที่ทำงานในชั้นถัดลงไป 10. กรณีพื้นนั่งร้านลื่นหรือมีพายุฝน ห้ามลูกจ้าง ทำงานบนนั่งร้าน 11. กรณีติดตั้งนั่งร้านใกล้สายไฟที่ไม่มีฉนวนหุ้มหรือ อุปกรณ์ไฟฟ้า ต้องดำเนินการจัดให้มีการหุ้มฉนวนที่เหมาะสม 12. ต้องจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ให้ลูกจ้างสวมใส่ตามประเภทของงานตลอดเวลาการทำงาน

  38. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน ก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง ลงวันที่ 10 กันยายน 2528 สาระสำคัญของกฎหมาย 1. ให้จัดทำรั้วหรือคอกกั้นและปิดประกาศแสดงเขต ก่อสร้างโดยรอบบริเวณที่ทำการก่อสร้าง 2. กำหนดเขตอันตรายโดยปิดประกาศให้ชัดเจนและ มีสัญญาณไฟสีแดงในเวลากลางคืน 3. ห้ามลูกจ้างที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในเขตอันตราย 4. ห้ามลูกจ้างเข้าอาศัยในอาคารที่กำลังก่อสร้าง 5. ห้ามลูกจ้างเข้าไปในอาคารที่กำลังก่อสร้างหรือเขต ก่อสร้างนอกเวลาทำงาน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากนายจ้าง

  39. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน เกี่ยวกับปั้นจั่น ลงวันที่ 17 เมษายน 2530 1. เจตนารมณ์ของกฎหมาย • เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการติดตั้ง การใช้ปั้นจั่น • ตลอดจนการซ่อมบำรุง 2. สาระสำคัญของกฎหมาย • 1. ปั้นจั่นจำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ • 1.1 ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ • 1.2 ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่

  40. จุดตรวจสอบ

  41. จุดตรวจสอบ

  42. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน เกี่ยวกับปั้นจั่น ลงวันที่ 17 เมษายน 2530 • 2. นายจ้างที่ใช้ประกอบ ทดสอบ ซ่อมบำรุงและตรวจ • สอบปั้นจั่นต้องปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน • 3. ต้องติดป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยกไว้ที่ปั้นจั่น • 4. ในกรณีการใช้สัญญาณมือให้จัดให้มีรูปภาพการใช้ • สัญญาณมือติดไว้ที่ปั้นจั่นและบริเวณที่ทำงาน • 5. ต้องมีการตรวจสอบปั้นจั่นทุก ๆ 3 เดือน • 6. ห้ามใช้เชือกลวดเหล็กกล้าที่ชำรุด บกพร่อง

More Related