1 / 22

อนาคตเศรษฐกิจไทย : ก้าวต่อไปสู่ ความเข้มแข็งและยั่งยืน

อนาคตเศรษฐกิจไทย : ก้าวต่อไปสู่ ความเข้มแข็งและยั่งยืน. กรอบการนำเสนอ. ความเป็นมา โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน. ความเป็นมา. ปัจจัยภายนอก ราคาน้ำมัน เศรษฐกิจโลกชะลอตัว การแข่งขันการส่งออกที่รุนแรงขึ้น Tsunami ภัยแล้ง. เศรษฐกิจมีภูมิคุ้มกัน

Download Presentation

อนาคตเศรษฐกิจไทย : ก้าวต่อไปสู่ ความเข้มแข็งและยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตเศรษฐกิจไทย:ก้าวต่อไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืนอนาคตเศรษฐกิจไทย:ก้าวต่อไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน

  2. กรอบการนำเสนอ • ความเป็นมา • โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ • แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน

  3. ความเป็นมา ปัจจัยภายนอก • ราคาน้ำมัน • เศรษฐกิจโลกชะลอตัวการแข่งขันการส่งออกที่รุนแรงขึ้น • Tsunami • ภัยแล้ง • เศรษฐกิจมีภูมิคุ้มกัน • ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ • มีคุณภาพและยั่งยืน • กระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง

  4. โครงสร้างเศรษฐกิจไทย : ประเด็นสำคัญ • โครงสร้างรายจ่าย • โครงสร้างด้านการผลิต • โครงสร้างด้านรายได้

  5. 1. พึ่งพิงการส่งออกในสัดส่วนที่สูง • 2. ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งมี import content สูง • 3. การบริโภคสินค้าคงทนมีความสำคัญมากขึ้น ต้องอาศัย import content สูง • โครงสร้างด้านรายจ่าย : 3 ประเด็นสำคัญ • เศรษฐกิจไทยขึ้นกับปัจจัยภายนอกมากขึ้น • การนำเข้าเพิ่มขึ้น : มูลค่าเพิ่ม GDP ต่ำ

  6. 1. พึ่งพิงการส่งออกสูง ทำให้เศรษฐกิจไทยขึ้นกับเศรษฐกิจโลก ที่มา : สศช.

  7. 2. พึ่งการส่งออกสินค้าอุตฯ ที่มี Import contentสูง ที่มา : สศช.

  8. Higher exports are accompanied by increasing import bills สัดส่วนการใช้วัตถุดิบนำเข้า/ มูลค่าการส่งออก (%) ที่มา : สศช.

  9. มูลค่าเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลักต่ำมูลค่าเพิ่มการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลักต่ำ ที่มา : สศช.

  10. 3.การบริโภคสินค้าคงทนมีความสำคัญมากขึ้น : ใช้วัตถุดิบนำเข้าในการผลิตสูง ที่มา : สศช.

  11. 1. พึ่งพิงสินค้าอุตสาหกรรมเป็นหลัก • 2. การผลิตสินค้าอุตฯ ที่ใช้เทคโนโลยีสูง มีต้นทุนการผลิตนำเข้าจากต่างประเทศสูง • 3. ภาคอุตสาหกรรมและขนส่ง ใช้พลังงานสูง + นำเข้าพลังงาน • 4. การผลิตต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ • 5. การผลิตสาขาบริการมีความสำคัญมากขึ้นแต่บริการท่องเที่ยวยังเป็นสาขาหลัก สาขาบริการอื่น ๆ เช่น การศึกษา สุขภาพ และการเงิน ยังไม่มีการขยายตัวเท่าที่ควร • ในสาขาท่องเที่ยว อาศัยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นหลัก และใช้ความรู้และเอกลักษณ์ความเป็นไทยในการสร้างมูลค่าน้อย • 6. การผลิตสาขาเกษตร ขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ/ ทรัพยากรธรรมชาติมากกว่าเทคโนโลยีในการผลิต • โครงสร้างด้านการผลิต : 6 ประเด็นสำคัญ • ขึ้นกับปัจจัยภายนอกมากขึ้น • การนำเข้าเพิ่มขึ้น : มูลค่าเพิ่มต่ำ

  12. 1. พึ่งพิงสาขาอุตสาหกรรมเป็นหลัก ที่มา : สศช.

  13. 2. การผลิตสินค้าอุตฯ ที่ใช้เทคโนโลยีสูง มีต้นทุนการผลิตนำเข้าจากต่างประเทศสูง ที่มา : สศช.

  14. 3. ภาคอุตสาหกรรมและขนส่งใช้พลังงานมากกว่าภาคเกษตร Shares of Final Energy Consumption by Economic Sector 2004 ที่มา : กระทรวงพลังงาน *Industry = Manufacturing +Mining +Construction

  15. 4. การผลิตพึ่งพิงเทคโนโลยีต่างประเทศ รายจ่ายค่าลิขสิทธิ์, รอยัลตี้ และเครื่องหมายการค้าสูงขึ้นต่อเนื่อง ที่มา ธปท.

  16. ข้อสังเกต : โครงสร้างการผลิตปท. พัฒนาแล้วพึ่งภาคบริการสูง ที่มา :CEIC

  17. โครงสร้างการใช้จ่ายประเทศพัฒนาแล้ว : ภาคบริการ

  18. ความเหลื่อมล้ำรายได้ : ความไม่สมดุลระหว่างการผลิตและการจ้างงาน ประสิทธิภาพการผลิต/ผลิตภาพแรงงานภาคเกษตรต่ำ • แรงงานภาคเกษตรมีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า • โครงสร้างด้านรายได้ :

  19. การจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลงการจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลง แต่แรงงานกว่าร้อยละ 40 ยังคงอยู่ในภาคเกษตรกรรม (%) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  20. ความเหลื่อมล้ำของรายได้ความเหลื่อมล้ำของรายได้ ที่มา : สศช.

  21. คุณภาพแรงงาน สัดส่วนแรงงานแยกตามระดับการศึกษา (ร้อยละ) ที่มา : สศช.

  22. แนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนแนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน Macroeconomic management สร้างมูลค่าเพิ่มด้านการผลิต พัฒนาคน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน R&D ลดการใช้พลังงาน/พลังงานทดแทน Rules & Regulations Institutional framework

More Related